Page 216 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 216

B3-204
19th HA National Forum
 มาตรา 8 สิทธิในการได้รับข้อมูลด้านสุขภาพเพ่ือประกอบการตัดสินใจรับหรือปฏิเสธการรับบริการสุขภาพ เว้นแต่ภาวะเสี่ยงอันตราย ถึงชีวิตหรือจาเป็นรีบด่วน ไม่อยู่ในภาวะท่ีจะรับทราบข้อมูลได้และไม่อาจแจ้งต่อทายาทโดยธรรม กรณีผู้รับบริการให้ข้อมูลอันเป็นเท็จหรือปกปิด ข้อเท็จจริงท่ีตนรู้หรือควรบอกแก่ผู้ให้บริการเกิดความเสียหายหรืออันตราย ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดชอบ เว้นแต่ผู้ให้บริการประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง ดังกรณีศึกษา คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 12498/2558 ตัดสินให้การซักถามประวัติผู้ป่วย เป็นหน้าที่ของผู้รักษาแม้ผู้ป่วยบอกไม่ครบถ้วน กรณีที่มีข้อสงสัยในอาการของผู้ป่วย หรือมีข้อจากัดในเรื่องความสามารถหรือมีข้อจากัดในเรื่องเครื่องมือ อุปกรณ์ ต้องส่งหารือ บันทึกรายงาน เป็นสาระสาคัญที่ศาลใช้ประกอบการพิจารณาควบคู่กับความเห็นของผู้เช่ียวชาญ กรณีมีข้อบกพร่องเรื่องการรักษาพยาบาล ควรให้ความสาคัญ กับการไกล่เกลี่ยคดี มากกว่าการต่อสู้คดี ซึ่งสามารถจนกว่าคดีจะถึงที่สุด
มาตรา 10 ต้องเปิดเผยข้อมูลที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน รวมทั้งวิธีป้องกันผลกระทบ ระวังเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
มาตรา 12 สิทธิขอยุติการรักษาพยาบาลเพ่ือยืดการตายในวาระสุดท้าย เพื่อยุติความทรมานจากการเจ็บป่วย ให้แสดงเจตนาไว้เป็น ลายลักษณ์อักษร ผู้ให้บริการพ้นความรับผิด โดยในการการดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการดูแลรักษาตามอาการ (symptom control) การบรรเทาอาการปวด (relief pain) การเยียวยาจิตใจ (spiritual healing) และการป้องกันญาติไม่ให้เกิดความรู้สึกผิดหลังผู้ป่วย เสยี ชวี ติ (guilt after dead) ดงั กรณตี วั อยา่ ง ออกซเิ จนในรถพยาบาลหมดระหวา่ งนา สง่ ผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ยไปเสยี ชวี ติ ทบี่ า้ น และการจา หนา่ ยศพผดิ
2. จากกรณีศึกษากระบวนการพยาบาลจะสามารถช่วยแก้ไขปญั หาคุณภาพบริการได้อย่างไร
การใช้กระบวนการพยาบาลในการสร้างคุณค่า คุณภาพและคุณธรรม พยาบาลต้องปฏิบัติหน้าท่ีตามกฎหมายวิชาชีพ โดยใช้กระบวนการ พยาบาลที่ดี ตามมาตรฐานการพยาบาล
พ.ร.บ.การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2558 และท่แี ก้ไขเพิ่ มเติม มาตรา 4
“การพยาบาล” หมายความว่า การกระทาต่อมนุษย์เก่ียวกับ การดูแลช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค การส่งเสริม สุขภาพ การช่วยเหลือแพทย์กระทาการรักษาโรค ทั้งน้ีโดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล
“การประกอบวชิ าชพี การพยาบาล” หมายความวา่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทกี่ ารพยาบาลตอ่ บคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน โดยการกระทา ตอ่ ไปนี้ 1) การสอบสวน การแนะนา การให้คาปรึกษาและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
2) การกระทาต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดการสภาพแวดล้อม เพื่อการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย การบรรเทาอาการ
ของโรค การลุกลามของโรคและการฟ้ืนฟูสภาพ
3) การกระทาตามวิธีที่กาหนดไว้ในการรักษาโรคเบ้ืองต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
4) การชว่ ยเหลอื แพทยก์ ระทา การรกั ษาโรค ทง้ั นโี้ ดยอาศยั หลกั วทิ ยาศาสตรแ์ ละศลิ ปะการพยาบาลในการประเมนิ สภาพ การวนิ จิ ฉยั ปญั หา
การวางแผน การปฏิบัติและการประเมิน
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจากัดและเง่อื นไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ.2550
“การเจ็บป่วยฉุกเฉิน” หมายความว่า การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จาเป็นต้องดาเนินการช่วยเหลือและการดูแลรักษาทันที และให้หมายความรวมถึงการปฐมพยาบาล การปฏิบัติและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต โดยเริ่มตั้งแต่จุดเกิดเหตุ หรือจุดแรกพบผู้ป่วย จนกระทั่งผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ถูกวิธีจากแพทย์
“การเจ็บป่วยวิกฤต” หมายความว่า การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงข้ันที่อาจทาให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้ หน้าที่ของพยาบาล คือ ต้องประเมินให้ได้ว่าผู้ป่วยท่ีมารับบริการนั้นเป็นการเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรือการเจ็บป่วยวิกฤติหรือไม่ เพื่อวางแผนให้การช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง ทันท่วงที “พยาบาลต้องรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพในระดับท่ีดีที่สุด โดยต้องคานึงถึงความปลอดภัยของผู้รับบริการ และต้องไม่ ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ท่ีอยู่ในระยะอันตราย”
จากผลสารวจความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการปฏิบัติการพยาบาล พบว่า 5 อันดับความพึงพอใจต่าสุด ได้แก่ ความละเอียดรอบคอบของ พยาบาล ปฏิบัติต่อผู้ป่วยเหมือนผู้ป่วยไม่มีความรู้สึกนึกคิด สนใจทางานประจาให้เสร็จสิ้น มากกว่าการรับฟังปัญหาของผู้ป่วย ปิดก้ันความคิดเห็น และความพงึ พอใจในแผนการดแู ลตนเองของผปู้ ว่ ย ปฏบิ ตั กิ บั ผปู้ ว่ ยคลา้ ยกบั ผปู้ ว่ ยสามารถเขา้ ใจคา อธบิ ายเกยี่ วกบั โรคและความเจบ็ ปว่ ยของตนเองได้
กรณีศึกษา รอนาน “หมอไม่มาใครรับผิดชอบ”
เกิดเหตุการณ์ผู้ป่วยไม่พึงพอใจเนื่องจากผู้ป่วยมาตรวจตามแพทย์นัดแล้ว รอนาน 4 ชั่วโมง จึงได้รับแจ้งจากพยาบาลว่าแพทย์ไม่มา
ออกตรวจ ในกรณีนี้สามารถใช้กระบวนการพยาบาลท่ีดีในการบริหารจัดการได้ดังนี้ ระบบนัดหมาย พยาบาลเป็นผู้รับผิดชอบออกใบนัดและ กาหนดจานวนผู้รับบริการในแต่ละวัน เม่ือผู้ป่วยมารับบริการตามนัด พยาบาลจึงมีหน้าที่รับผิดชอบร่วมกับแพทย์ในการดูแลผู้ป่วยให้ได้รับบริการ ตามมาตรฐาน พยาบาลต้องเป็นผู้วินิจฉัยผู้ป่วยแต่ละรายว่าเป็นผู้ป่วยทั่วไปหรือผู้ป่วยฉุกเฉิน หากวินิจฉัยได้ว่าเป็นผู้ป่วยฉุกเฉิน แม้จะมาผิดวัน นัดก็ต้องได้รับการตรวจ เวลาที่แพทย์ควรลงตรวจ กรณีที่แพทย์ลงตรวจช้าและมีผู้ป่วยมารอรับบริการจานวนมาก พยาบาลต้องร่วมรับผิดชอบ
216 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
 











































































   214   215   216   217   218