Page 221 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 221

B4-204
19th HA National Forum
 การกาหนด Action plan ในการแก้ไขโดยใช้รูปแบบการนิเทศแบบ Creative Innovation Management Clinical Supervision RTAF Nurse Model โดยนานโยบายสู่การปฏิบัติผ่าน Head Nurse ส่วนการพัฒนาการ Detect ปัญหาล่าช้าท่ีทาให้ผู้ป่วยไม่ปลอดภัยแก้ไขโดยการใช้ Early Warning Signs (EWS) และมีการ Training และจากการประเมินผลการใช้ SBAR พบว่าการรายงาน Situation มีปัญหาในทุกระดับการ ปฏิบัติงาน การรายงาน Background ไม่ Support กับ Situation การรายงานในส่วนของ Assessment และ Recommendation พบปัญหา ในกลุ่ม New competent ซึ่งต้องมีการ Coaching ต่อไป
น.ท.หญิงภัคภร โลจนะวงศกร
เพม่ิ เตมิ ในประเดน็ เกยี่ วกบั การกา หนดกจิ กรรมSafetyTalkตามขอ้ ตกลงขององคก์ รแพทยแ์ ละองคก์ รพยาบาลโดยมกี ารกา หนดสญั ลกั ษณ์ ผู้ป่วยเป็นกลุ่มดาวแดงในผู้ป่วยที่เป็นกลุ่มเส่ียงสาคัญ ท่ีผ่านการประเมินด้วยชุด
คาถาม 3 ชุดเพ่ือนาสู่การบริหารจัดการความเส่ียงได้แก่
1) ผู้ป่วยมีความเส่ียงเร่ืองอะไร (สะท้อน situation awareness) 2) มีการรับรู้ความเสี่ยงของผู้ป่วยโดยวิธีใด (สะท้อน perception) 3) มีการจัดการความเสี่ยงนั้นอย่างไร (สะท้อน management)
ร.อ.หญิงสใบทิพย์ พลายยงค์
จากการพัฒนา Effective Communication โดยการใช้ SBAR พบ GAP ในประเด็นการตัดสินใจ คือ เม่ือไรควรจะรายงานแพทย์ จึงเกิด การทา CQI เป็นรอบท่ี 3 โดยการสร้างสัญญานเตือนภัย (early warning signs) ท่ีเป็นสากลโดยวางเป้าหมายที่การมีระบบรายงานอาการผู้ป่วยท่ี เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งโรงพยาบาลและเป็นท่ีรับรู้ในผู้เก่ียวข้องซ่ึง ดาเนินการโดย
- นา EWS มาใช้เป็นแนวทางในการส่งสัญญาน Call for Help เพื่อแก้ปัญหาสมรรถนะของพยาบาลท่ีแตกต่างกัน
- Review EWS ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทุกสาขาและบรรจุให้เป็น Work Instruction (WI)
- ทบทวน Evidence Based จากการใช้ MEWS ในการ Early Detection พบว่าสามารถลดอัตราตายและลด Adverse Event ได้
จึงนามาประยุกต์เป็น B. MEWS (Bhumibol Adulyadej Modified Early Warning Signs)และจากการวิเคราะห์ 6 parameter (respiratory rate, o2 saturation, temperature, systolic blood pressure, heart rate, level of conscious) จากแพทย์ทุกสาขา พบว่ามีความเหมาะสม กับบริบทของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
- กาหนด Flow Management ในการใช้ B. MEWS ควบคู่กับการกาหนด Activation Protocol ในการปฏิบัติงาน
- ใช้ Respect Model นาในการขับเคล่ือน
- กาหนดหน่วยงานนาร่องในการพัฒนาท่ีหอผู้ป่วยสามัญ
- มีการติดตามตัวชี้วัด 1) อัตราผู้ป่วยทรุดลง/CPR โดยไม่ได้คาดหมาย 2) อัตราการตอบสนองของแพทย์ต่อการ
รายงาน B.MEWS ที่เปล่ียนแปลง 3) อัตราการใช้ B.MEWS ในการเฝ้าระวังผู้ป่วยแนวทางการพัฒนาให้มุ่งสู่เส้นทางความปลอดภัย
ซึ่งจะนาไปสู่วัฒนธรรมความปลอดภัย (safety way safety culture) และจะทาเกิด 2 P Safety มีดังน้ี
1. Simple: Patient Care Process
2. Clinical Supervision RTAF Nurse Model นิเทศกากับโดยนาทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
3. Effective Communication สื่อสารโดยใช้ SBAR
4. Respect Model โดยการสร้างต้นแบบในระดับหัวหน้าหอและหัวหน้าทีมการพยาบาล
  สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 221
 










































































   219   220   221   222   223