Page 224 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 224
C1-204
19th HA National Forum
ดร.ปฏิพร บุณยพัฒน์กุล
การพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ ค่ี มุ้ คา่ จา เปน็ ตอ้ งมกี ารปรบั เปลยี่ นดา้ นโครงสรา้ งและกระบวนการดว้ ยการทา งานแบบ สหสาขาวชิ าชพี แนวคดิ ระบบดแู ลสขุ ภาพเพอ่ื ผลลพั ธท์ คี่ มุ้ คา่ ทก่ี า ลงั โดง่ ดงั ไปทวั่ โลก ถกู พฒั นาขนึ้ โดยศาสตราจารยไ์ มเคลิ พอรเ์ ตอร์ นกั เศรษฐศาสตร์ และนกั บรหิ ารเชงิ กลยทุ ธ์ จากโรงเรยี นธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั ฮารว์ ารด์ คา นยิ าม “ผลลพั ธท์ คี่ มุ้ คา่ ” คอื ผลลพั ธก์ ารรกั ษาพยาบาลทคี่ มุ้ คา่ ตอ่ เงนิ ทลี่ งทนุ ไป โดยผลลพั ธก์ ารรกั ษาพยาบาล ไมไ่ ดห้ มายความเพยี งแตก่ ารปราศจากโรคหรอื ความพกิ ารทพุ ลภาพเทา่ นน้ั แตห่ มายถงึ ภาวะสขุ ภาพทมี่ คี วามสมบรู ณ์ ของร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ รวมถึงการดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ในขณะที่ตัวชี้วัดผลลัพธ์การรักษาพยาบาลมากกว่าร้อยละ 60 เป็นการวัดการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติทางคลินิกหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ มีเพียงร้อยละ 7 ที่วัดผลลัพธ์ของผู้ป่วยและร้อยละ 2 เป็นการ ประเมินผลลัพธ์โดยผู้ป่วย นอกจากนี้ยังพบปัญหาระบบบริการสุขภาพ เช่น 1) ระบบบริการสุขภาพควรเริ่มจากหน่วยบริการปฐมภูมิ เร่ิมในขณะที่ ประชาชนมสี ขุ ภาพดี แตพ่ บวา่ หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู มิ คี วามจา กดั ในเรอื่ งการดแู ลและปอ้ งกนั การเบยี่ งเบนจากภาวะสขุ ภาพดสี กู่ ารเจบ็ ปว่ ย การดแู ล ผปู้ ว่ ยโรคซบั ซอ้ นและผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการเฉยี บพลนั 2) เมอื่ ประชาชนเรม่ิ เจบ็ ปว่ ย เรมิ่ จากอาการหรอื ภาวะบง่ ชคี้ วามผดิ ปกติ ในขณะทขี่ อ้ มลู ผลลพั ธก์ าร รกั ษาพยาบาลเรมิ่ เมอื่ ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การวนิ จิ ฉยั แลว้ จงึ ทา ใหไ้ มท่ ราบถงึ ผลลพั ธข์ องผปู้ ว่ ยชว่ งเรมิ่ เจบ็ ปว่ ยจนถงึ คณุ ภาพการเขา้ ถงึ การรกั ษาพยาบาลใน ระยะกอ่ นการวนิ จิ ฉยั วา่ ดจี รงิ หรอื ไม่ 3) ประชาชนมสี ทิ ธเิ์ สรภี าพในการเลอื กหรอื เปลย่ี นสถานพยาบาลจากระบบการแขง่ ขนั ทางการตลาด หากไมม่ ี ความรู้ด้านความต้องการทางสุขภาพเมื่อเกิดการเจ็บป่วย ส่งผลให้มีการเปลี่ยนสถานพยาบาลบ่อยๆ
ในขณะที่ข้อมูลการเจ็บป่วยในแต่ละสถานพยาบาลไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ เป็นสาเหตุให้ข้อมูลระบบบริการสุขภาพและ ผลลัพธ์สุขภาพของบุคคลแยกส่วนตามสถานพยาบาล มีการใช้ทรัพยากรและค่าใช้จ่ายซ้าซ้อนในการรักษาพยาบาล 4) หน่วยบริการแต่ละสถาน พยาบาลทางานแบบแยกส่วนและยุ่งเหยิง เส้นทางการใช้ระบบบริการสุขภาพต่อการเจ็บป่วยหนึ่งคร้ังจาเป็นต้องรับบริการจากหลายหน่วยงานใน สถานพยาบาลเดียวกัน ทาให้เกิดการสูญเสียเวลาและความศรัทธาของผู้ป่วยและผู้รับบริการ และ 5) ระบบการเหมาจ่ายรายหัว กาหนดให้สถาน พยาบาลมีรายได้มากขึ้นจากจานวนผู้ป่วยท่ีมากขึ้น และถ้ามีการพยายามลดค่าใช้จ่ายภายใน เช่น ไม่ส่งต่อผู้ป่วยท่ีเกินศักยภาพ ส่งผลให้ผลลัพธ์ ทางสุขภาพแย่ลง เป็นต้น
224 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)