Page 229 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 229

A2-205
19th HA National Forum
  นพ.ปทานนท์ ขวัญสนิท
การวินิจฉัยและการรักษาโรคซึมเศร้าด้วยยา
โรคซึมเศร้าทาให้เกิดผลเสียทางเศรษฐกิจ เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยอันดับที่ 4 รองจากโรคเอดส์ โรคหลอดเลือดสมอง และเบาหวาน เพิ่มอัตราการฆ่าตัวตาย 20 เท่าของคนปกติ การเข้าถึงการรักษายังมีน้อย และจากปัญหาประสิทธิภาพการรักษา ยังมีผู้ป่วยส่วนหน่ึงท่ีไม่ตอบสนอง ต่อการรักษาเท่าท่ีควร
ท่ีผ่านมา การขาดความตระหนักรู้ในโรค การไม่เข้าใจในกลไกของโรค เป็นโรคที่ทาให้เกิดการตีตรา เปรียบเทียบเหมือนก่อนที่เราจะรู้จัก โรค HIV ท่ีเราไม่ทราบว่าโรคน้ีมีจริง จนเม่ือปรากฎอาการ เราจึงวินิจฉัยโรคนี้และให้การรักษาโรคนี้ แต่โรคทางจิตเวชมีข้อจากัดในการใช้การตรวจ ทางห้องปฎิบัติการเพื่อการวินิจฉัย
การปอ้ งกนั หลกั ฐานทางวชิ าการพบวา่ มที งั้ ทป่ี จั จยั ทสี่ ามารถปอ้ งกนั ได้ เชน่ การจดั การกบั ความเครยี ด และทปี่ อ้ งกนั ไมไ่ ด้ เชน่ กรรมพนั ธ์ุ การรักษา ยังมีข้อจากัด การรักษาด้วยยายังมีการตอบสนองไม่สูงสุดในผู้ป่วยบางรายจึงต้องมีการรักษาท่ีไม่ใช่ยา คือ จิตบาบัดร่วมด้วย การวินิจฉัย แพทย์ทั่วไป ไม่กล้าวินิจฉัยโรค และไม่มั่นในว่าจะให้ยารักษาอาการได้ถูกต้องหรือไม่ ระบบบริการที่เข้าถึง เมื่อมาตรวจแล้ว
เราจะมั่นใจว่าผู้ป่วยจะรับประทานยาต่อเนื่องหรือไม่ และการติดตามต่อเนื่อง
การแก้ปญัหา
กรมสุขภาพจิต ได้เพิ่มการตระหนักรู้ของบุคลากรและประชาชน สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อโรคซ่ืงเศร้า พัฒนางานวิจัยจากคลินิค บูรณาการในระบบการรักษา สร้างระบบบริการสุขภาพ เพิ่มระบบเข้าถึงการรับบริการ มีการฝึกบุคลากร ใน รพศ รพท. และบรรจุเป็นนโยบาย มกี ารสรา้ งชอ่ งทางเพอื่ เพมิ่ การรบั รแู้ ละทศั นคตเิ ชงิ บวกตอ่ โรค ผา่ นชอ่ งทางสอื่ สงั คมออนไลน์ ทง้ั แบบหนงั สอื และสอื่ ตา่ งๆ (สามารเขา้ ดรู ายละเอยี ด เพ่ิมเติมใน www.thaidepression.com) สร้างนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ ส่งเสริมและป้องกันโรค ผ่านสื่อวิทยุ การ์ตูน คู่มือ สารคดี และแผนภาพ
โครงการวิจัย The surveillance system of depressive disorders at provincial level (SDDP) มีการคัดกรองด้วย 2Q ประเมิน ระดับความรุนแรงด้วย 9Q ประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q พัฒนาการวินิจฉัยและการรักษาตามคู่มือ ติดตามเฝ้าระวังการรักษาด้วย 9Q และบันทึก รายงานผลผ่านโปรแกรมแอปพลิเคช่ัน แสดงผลผ่านหน้าเวป เพื่อการเฝ้าระวังโดยมีเป้าหมาย เพื่อการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรค ซึมเศร้าเพ่ิมขึ้น คนไทย 14 ล้านคน ได้มีการคัดกรองโรค 0.7 ล้านคน ได้เข้าถึงระบบริการสุขภาพ และร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคซึ่งเศร้าได้รักษา และ หายจากการเป็นโรค ด้วยวิธีการ คือ การมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนในการรับรู้และช่วยเหลือในการรักษา และการดูแลตนเอง
สาเหตุการเกิดโรค
- การเสียสมดุลของสารสื่อประสาทในสมอง (Serotonin, Norepinephrine, Dopamine) - ปัจจัยทางสังคม จิตใจเป็นตัวกระตุ้น
- พันธุกรรม ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงท่ีแตกต่างกัน และการถ่ายทอดในครอบครัวก็ต่างกัน
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   229




















































































   227   228   229   230   231