Page 256 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 256
B2-205
19th HA National Forum
ภก.สราวุธ กิตติเกษมสุข
เมอื่ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทยกา หนดเปา้ หมายจะเปน็ ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการแพทย์ เภสชั กรจากคลนิ กิ หวั ใจลม้ เหลว และ คลนิ กิ ผสู้ งู วยั สขุ ภาพดี จะมบี ทบาทอยา่ งไรในการชว่ ยขบั เคลอื่ นงานบรบิ าลทางคลนิ กิ หรอื Ambulatory Care Clinic ใหส้ นบั สนนุ วสิ ยั ทศั นข์ ององคก์ ร
ภญ.ธศิกานต์ แช่มช้อย
บทบาทของเภสัชกรในคลนิ กิ หวั ใจลม้ เหลว
Advanced Heart Failure Clinic จัดตั้งในปี2555 มี flow การทางาน 5 ขั้นตอนประกอบด้วย
1) ผู้ป่วยชั่งน้าหนัก วัดความดันโลหิต 2) เภสัชกรทา med reconcile 3) พบแพทย์ 4) รับคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญจากสหวิชาชีพได้แก่ เภสัชกร พยาบาล นักโภชนาการ 5) Check device ในผู้ที่ใช้เครื่องกระตุ้นการทางานของหัวใจ
จากการศึกษาจากงานวิจัยพบว่า 28% ของผู้ป่วยที่มา ER มีสาเหตุจากยา ซึ่ง 70% สามารถป้องกันได้ 24% ต้องadmit กลุ่มยาที่พบบ่อย ไดแ้ ก่ NSAIDS, DM, CNS drug & Cardiovascular drug อกี หนงึ่ การศกึ ษาพบวา่ อบุ ตั กิ ารณข์ อง ADE ใน Ambulatory Care 1 ใน 5 สามารถปอ้ งกนั ได้ ยากลุ่ม cardiovascular drug เป็นสาเหตุของ ADE ที่ป้องกันได้ที่พบบ่อยที่สุดและทาให้ผู้ป่วยต้องนอนโรงพยาบาล ซึ่งเภสัชกรมีบทบาทสาคัญ ช่วยเพิ่มความปลอดภัยทางยาได้ โดยเฉพาะลดอัตราการนอนโรงพยาบาล และ guideline HF แนะนาให้เภสัชกรเป็นหน่ึงในทีมสหวิชาชีพ ทีม HF Clinic ของโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณป์ ระกอบดว้ ยสหวชิ าชพี เชน่ กนั ไดแ้ ก่ แพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญดา้ น HF และ Transplant พยาบาล เภสชั กร นกั โภชนาการ
บทบาทหน้าที่ของเภสัชกรในทีม HF Clinic มี 2 ระยะคือ pre MD ทา Med reconciliation รวบรวมประวัติยาให้พร้อมก่อนแพทย์ ตรวจ และ post MD หลังแพทย์ตรวจทาMed couseling ส่วนวันที่ไม่มีคลินิกจะตอบคาถามเรื่องยาทางโทรศัพท์และทางไลน์รวมทั้งทาวิจัยด้วย
การทา pre MD ใช้เครื่องมือ clinic note one page ซึ่งสหวิชาชีพบันทึกและใช้ข้อมูลร่วมกัน เภสัชกรซักประวัติข้อมูลยาทุกตัวที่ผู้ป่วยใช้ การบรหิ ารยา การใชย้ าถกู ตอ้ งหรอื ไม่ drug interaction บนั ทกึ ในชอ่ ง note ของเภสชั กรเพอื่ สง่ ตอ่ ขอ้ มลู ใหแ้ พทยท์ ราบ มกี ารลงนามทงั้ pre-post counseling เพื่อติดตามได้ เช่น กรณีผู้ป่วยได้รับจากหลายโรงพยาบาลจะให้นายาทั้งหมดมาให้ดู หาความซ้าซ้อนของยา คนละชื่อ/ยี่ห้อ จัดทาตา รางยารวมอยใู่ นสมดุ ชงั่ นา้ หนกั ใชใ้ นการสอื่ สารขอ้ มลู ยาระหวา่ งโรงพยาบาลได้ โดยฝกึ ใหผ้ ปู้ ว่ ยกรอกขอ้ มลู ยาทกุ ตวั ทใ่ี ชล้ งในตารางดว้ ยตวั เองโดยใช้ ดนิ สอเพอ่ื ใหล้ บไดห้ ากมกี ารเปลยี่ นแปลง เขยี นวนั ทที่ ปี่ รบั ยา เพมิ่ ความสะดวกในการกนิ ยา กรณไี ปตรวจรบั ยาจากสถานพยาบาลอนื่ ใหน้ า ตารางยา ไปให้แพทย์ดูหากมีการปรับยาตัวใดให้แก้ไขในตารางยาให้ด้วย
Med counselling การแนะนาการใช้ยาหลังจากแพทย์ตรวจ เภสัชกรจะ Review drug interaction อีกครั้ง ตรวจสอบ dose ยากรณี การทางานของตับไตบกพร่องช่วยดักจับ prescribing error สหวิชาชีพทางานประสานกัน เช่น กรณี order bridging ยา จะให้คาแนะนาก่อนทา หัตถการและเซ็นรับ order ด้วยหมึกสีแดง ในใบ bridging ถ้าทราบวันที่ทาหัตถการให้ระบุวันลงในตาราง bridge ด้วย เช่น enoxaparine ให้ตั้งแต่ วันที่...หยุดวันที่...กี่ช่ัวโมงก่อนทาหัตถการ ช่วง 4 เดือนที่ทา pilot project สามารถลด compliance error เหลือ 0
กรณีผู้ป่วยมาเข้าคลินิกครั้งแรกแม้เคยรับยามานานก็ต้องแนะนาการใช้ยาใหม่ทั้งหมด เพราะพบผู้ป่วยที่กินยามานานปรับยาผิดตัว ทางคลินิกหัวใจล้มเหลวได้จัดทาสมุดคู่มืออยู่อย่างไรกับภาวะหัวใจล้มเหลว (download ได้จาก website สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย) มีข้อมูลยาอย่างละเอียดพร้อมรูปประกอบ กรณียาบางตัวมีหลายข้อบ่งใช้ต้องทาความเข้าใจกับผู้ป่วยว่าแพทย์ตั้งใจใช้ตามข้อบ่งใช้ใด เช่น ผู้ป่วยได้ Aldactone คู่กับ Furosemide ซึ่งกรณีคนไข้หัวใจบีบตัวน้อยๆ (heart failure with reduced ejection fraction) Aldactone low dose 25-50mg/day ใช้ลด cardiac fibrosis (high dose 100mg/day for diuretics) ส่วน furosemide ให้เพื่อ diuresis เพื่อป้องกันผู้ป่วยปรับยา ผิดตัวเมื่อมีภาวะน้าเกิน
256 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)