Page 258 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 258

B2-205
19th HA National Forum
 ปี 2015 เก็บข้อมูลงานวิจัย 6เดือน (มี.ค.-ส.ค.) ผู้ป่วย 111 ราย จานวน 304 visits พบ DRP (Drug Related Problem) 143 ครั้ง 1 ใน 3 เป็น Non compliance และ NSAID เป็นปัญหาสาคัญที่ทาให้ต้องนอนโรงพยาบาล risk factor คือการได้รับยาหลายชนิด( polypharmacy) 7 items ข้ึนไปจากการเก็บข้อมูลปัญหาจากการใช้ยาปี 2017-2018 พบ medication non-adherence ถึง 47% ของปัญหาจากการใช้ยาทั้งหมด ยาท่ีพบบ่อย 3 อันดับแรกได้แก่ Diuretic, KCl, Beta-blocker ปัญหา non-adherance 3 อันดับได้แก่ 1) Incorrect dose 2) Self-stop taking medication 3) miss dose สาเหตุจากเป็นยาท่ีมีการปรับบ่อยผู้ป่วยเกิดความสับสน แผนพัฒนาที่จะทาต่อคือลด non-adherence ใน คลินิก หัวใจล้มเหลว
ภญ.แอนน่ี ไพศาลสิริกุล
คลินิกผู้สูงวัยสุขภาพดี ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ด้านการดูแลผู้สูงอายุ ก่อตั้งเม่ือ พ.ศ. 2560 จากการเก็บข้อมูลระหว่างเดือน ต.ค.-ธ.ค. 2560 พบผู้สูงอายุท่ีเข้ามารับบริการมีปัญหาสุขภาพเฉลี่ยคนละ 4 เร่ือง ปัญหาสุขภาพที่พบมากท่ีสุดคือ 1) DLP 2) HTN 3) Dry eye syndrome 4) DM ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ใช้ยาร่วมกันหลายรายการหรือเกินข้อบ่งชี้ (polypharmacy) พบการซ้ือยากินเอง รับยาหลายแห่ง ทาให้ เส่ียงต่อการใช้ยาซ้าซ้อน (duplicate therapy) หรือเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาได้ (drug interactions) ร่างกายของผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทั้ง pharmacokinetic/ pharmacodynamics เช่น การทางานของไตลดลง บางรายมีปัญหาการส่ือสาร เช่น การมองเห็น การได้ยิน ความจาบกพร่อง และอาจมีความรอบรู้ทางสุขภาพต่า นอกจากนี้ข้อมูลด้านยาในผู้สูงอายุมีจากัด รวมทั้งบุคลากรทางการแพทย์อาจมีเวลาส่ือสารข้อมูลด้านยากับ ผู้สูงอายุน้อย ล้วนเป็นความท้าทายด้านการใช้ยาในผู้สูงอายุอย่างปลอดภัย
การส่งเสริมความปลอดภัยในการใช้ยาในผู้สูงอายุ
ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ด้านการดูแลผู้สูงอายุมีพันธกิจที่จะสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมผู้สูงอายุสุขภาพดี สามารถดารงชีวิตได้ อย่างมีคุณค่าและมีคุณภาพชีวิตท่ีดีด้วยการบริการจากสหสาขาวิชาชีพประกอบด้วยแพทย์ เภสัชกร พยาบาล นักกายภาพบาบัด นักโภชนาการ และนกั สงั คมสงเคราะห์ กระบวนการดแู ลผปู้ ว่ ยดา้ นยาเรมิ่ ตงั้ แตป่ ระเมนิ การใชย้ าของผปู้ ว่ ยวา่ มคี วามเหมาะสมตามขอ้ บง่ ใช้ มปี ระสทิ ธผิ ล ปลอดภยั และผู้ป่วยเต็มใจใช้ยา นามาวางแผน กาหนดเป้าหมาย
และตดิ ตามประเมนิ ผล หลงั จากเภสชั กรประเมนิ การใชย้ าเรยี บรอ้ ย จะสรปุ ขอ้ มลู ใหส้ หวชิ าชพี ทราบวา่ ผปู้ ว่ ยมกี ารใชย้ า/ ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ ใด ท้ังท่ีแพทย์สั่งจากทุกสถานพยาบาลและท่ีผู้ป่วยใช้เอง (medication reconciliations) มีประวัติแพ้ยาหรือไม่ และมีปัญหาทางยาใดบ้าง พร้อม ข้อเสนอแนะการป้องกันแก้ไขปัญหา เมื่อผู้ป่วยพบแพทย์แล้ว จะกลับมารับคาแนะนาปรึกษาจากเภสัชกรอีกคร้ังและพบสหวิชาชีพอื่นต่อไป ผู้ป่วย ที่เข้าคลินิกผู้สูงวัยสุขภาพดีอาจมีแพทย์ผู้รักษาจากที่อ่ืนอยู่แล้ว วัตถุประสงค์ของคลินิกนี้คือ เพื่อคัดกรองความเสี่ยงและปัญหาทางยาแก่ผู้ที่มี ความเส่ียงต่ออาการไม่พึงประสงค์จากยา เช่น polypharmacy, high risk drugs, advanced age, โรคร่วมหลายโรค, รักษาหลายคลินิก, มีภาวะ หลงลืม, ดื่มสุราเป็นประจา, ไตเส่ือม, มีประวัติเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา โดยประเมินการใช้ยาอย่างต่อเน่ืองอย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง ข้อควร พิจารณาได้แก่ การใช้ยาควรเร่ิมท่ีขนาดการรักษาในขนาดต่าก่อน แล้วค่อยๆ ปรับขนาดยาช้าๆ ตามค่าการทางานของไต ถ้าผู้ป่วยมาด้วยอาการ ใหม่ให้คานึงถึงอาการไม่พึงประสงค์เสมอ และพิจารณาหยุดยาท่ีทาให้เกิดความเสี่ยงมากกว่าประโยชน์เช่น ยาที่ไม่มีข้อบ่งช้ี หรือทาให้เกิดอาการ ไม่พึงประสงค์ หลีกเลี่ยง prescribing cascade (การใช้ยาเพิ่มเพื่อรักษาอาการไม่พึงประสงค์จากยาโดยท่ียังใช้ยาน้ันต่อ)
ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินการใช้ยาในผู้สูงอายุท่ีมาคลินิกคร้ังแรก (ต.ค.-ธ.ค. 2560) พบอุบัติการณ์การใช้ยาที่อาจไม่เหมาะสมในผู้สูงอายุ (potentially inappropriate medication use) เท่ากับ 33% กลุ่มยาท่ีพบบ่อยได้แก่
1) benzodiazepines
2) 1st generation antihistamines
3) antiplatelets และ muscle relaxants
 258   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)






















































































   256   257   258   259   260