Page 293 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 293

A2-206
19th HA National Forum
  ผศ.ศิริพร พุทธรังษี
SIMPLE มาตรฐานนี้เริ่มกล่าวถึงคร้ังแรกในปี 2006 ต่อมาได้มีการจัดทา patient safety goals ในปี ค.ศ. 2008 เป็นต้นมาจนกระท่ัง ในช่วงปี 2016-2017 สถาบันรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (องค์การมหาชน) หรือ สรพ. ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข และ WHO SEARO (World Health Organization, South-East Asia Regional Office) ได้ร่วมกันกันขับเคล่ือน patient safety goal อีกครั้ง โดยมีการนาข้อมูลจากการ ประเมนิ ความปลอดภยั ของผปู้ ว่ ย ในประเทศไทย เสนอตอ่ กระทรวงสาธารณสขุ โดยรฐั มนตรวี า่ การประทรวงสาธารณสขุ ไดม้ กี ารประกาศ SIMPLE (2P Safety) เป็นนโยบายของชาติ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2017
จากนั้นมีการแต่งตั้งคณะทางานเป็น 2 ชุด คือชุด patient safety และ Personnel safety โดยในส่วนของคณะทางาน Patient safety ได้มีการไปทบทวน SIMPLE ให้มีความทันสมัยสอดคล้องระบบบริการสาธารสุขของประเทศ และประกาศเป็น SIMPLE Thailand 2018 ซึ่งได้มีการ ปรับ ในส่วนต่างๆ คือ กรอบแนวคิด ปรับหัวข้อไหม่เพิ่มเติม ปรับเนื้อหาหัวข้อเก่าให้มีความทันสมัยมีแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ และ เน้นการมีส่วน ร่วมของสหสาขาวิชาชีพและภาคประชาชน
S1 Safe surgery :
นพ.พรเทพ เปรมโยธิน
จากเดิมที่ใช้คาว่าการผ่าตัด ในปี พ.ศ. 2561 เพิ่มนิยามคาว่า Invasive procedure ซึ่งหมายถึง การกระทาใดๆ ที่ผ่านผิวหนัง เยื่อบุ (mucosa) เข้าไปในร่างกาย เพราะวิวัฒนาการรักษาที่ก้าวหน้าไปมาก
S3 Enhanced recovery after surgery : ERAS
เป็นการส่งเสริมการฟื้นตัวหลังผ่าตัด โดยผู้ป่วยที่มาผ่าตัด ควรได้รับการดูแลโดยสหสาขา เพ่ือให้มีความพร้อม ตามศักยภาพโดยให้ความ สาคัญกับการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติ (เป็นจุดเน้น) โดยมีเป้าหมาย เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ลดระยะเวลาอยู่ในโรงพยาบาล เพิ่มคุณภาพชีวิต ของผู้ป่วย การมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติ การเตรียมผ่าตัดที่ดีสามารถลดภาวะแทรกซ้อนและระยะเวลาการนอนรักษาตัวได้
โดยมีกระบวนการ คือ การให้ความรู้และคาแนะนาก่อนผ่าตัด วิธีการผ่าตัด ระยะเวลานอนโรงพยาบาล ผลกระทบ และความเสี่ยงที่อาจ ได้รับ รวมถึงการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด ได้แก่ การหายใจ การไอ และการลุกจากเตียงโดยเร็ว มีการประเมินและแก้ไขภาวะทุพโภชนาการก่อนผ่าตัด การงดน้าและอาหารตามแนวปฏิบัติ ของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์ การให้ยาปฏิชีวนะ ยาป้องกันภาวะคล่ืนใส้อาเจียน ให้สารน้าและเกลือแร่เท่า ท่ีจาเป็น ไม่ใส่ท่อระบายหรือสายสวนโดยไม่จา เป็นและถอดท่อระบายหรือสายสวนออกเมื่อไม่มีข้อบ่งชี้ ป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต่า การควบคุม อาการปวด ให้ดื่มน้าและทานอาหารถ้าไม่มีข้อห้าม ให้คาแนะนา เกี่ยวกับอาการสาคัญของภาวะแทรกซ้อน ช่องทางการติดต่อและอาการสาคัญที่ ควรกลับมาพบแพทย์ก่อนวันนัด
การฝึกอบรมควรให้ความรู้แก่ผู้ให้การรักษา ผู้ป่วยและญาติ เกี่ยวกับการส่งเสริมการฟื้นตัวหลังผ่าตัด เพื่อให้เกิดความตระหนักและนา ไปใช้อย่างสม่าเสมอ และมีการติดตาม ว่ามีการปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการฟื้นตัวหลังการผ่าตัดของทีมงานสหสาขา รวมถึงผลลัพธ์ที่เกิดจากการส่งเสริม การฟื้นตัวหลังผ่าตัด
S1.4 : Venous Thromboembolism (VTE) Prophylaxis
VTE หมายถึง ภาวการณ์เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดา ถ้าอยู่ส่วนลึกของขา (Deep vein thrombosis) และอยู่บริเวณเหนือข้อเข่าขึ้นไป (Proximal DVT) จะมีโอกาสเกิดการอุดก้ันในปอด (Pulmonary embolism) อย่างเฉียบพลัน โดยมีเป้าหมายคือ ป้องกันการเกิดลิ่มเลือดในหลอด เลือดดาของขา (Deep Vein Thrombosis) และภาวะลิ่มเลือดอุดก้ันในปอด (Pulmonary Embolism; PE) ในผู้ป่วยศัลยกรรม เนื่องจากการเกิด ลิ่มเลือดในหลอดเลือดดาของขาและมีภาวะล่ิมเลือดอุดกั้นในปอด เป็นภาวะแทรกซ้อนที่ฉับพลันและรุนแรง อาจจะทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งถ้ามีการ ประเมินปัจจัยเส่ียงอย่างเป็นระบบ โดยนามาตรการป้องกันมาใช้จะสามารถลดปัญหาน้ีได้
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   293




















































































   291   292   293   294   295