Page 295 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 295

A2-206
19th HA National Forum
 I : Infection Prevention and Control :
ผศ.นพ.กาธร มาลาธรรม
I 1 : Hand Hygiene
คือ การปฎิบัติเพ่ือลดจานวนเชื้อจุลชีพท่ีอยู่บนมือโดยการถูมือด้วยแอลกอฮอล์ หรือล้างมือด้วยสบู่หรือสบู่ผสมน้ายาทาลายเชื้อ เน้นการ ล้างให้ถูกต้อง เป็นนิสัย ในโอกาสที่ต้องทาความสะอาดมือ 5 โอกาส (5 moment) เมื่อทาการตรวจรักษา วินิจฉัยผู้ป่วย
แนวคิดของกระบวนการและการติดตาม ต่อไปเราจะมี national reporting system เช่น การสารวจ hand hygiene compliance ทเี่ ราอาจจะรสู้ กึ วา่ มนั เปน็ ภาระ แตค่ วามจรงิ มนั เปน็ ภารกจิ เพอื่ ความปลอดภยั ของผปู้ ว่ ยและเราเอง เปน็ กระบวนการสรา้ งการเรยี นรจู้ ากสง่ิ ทคี่ ลาด เคล่ือนไปจากมาตรฐาน ว่าอะไรเป็นเหตุ และจะแก้ไขได้อย่างไร และ feedback ได้ ซึ่ง error ที่เกิดขึ้น ต้องคู่กับ direct feedback, audit และ training monitoring.
I 2.3 : Peripheral and Central Line-Associated Bloodstream Infection (CLABSI) prevention
เปน็ Device Associated Infection มที งั้ peripheral line และ central line จากเดมิ ทมี่ ี central line เทา่ นนั้ สว่ น Device Associated Infection อ่ืนๆ (ventilator associated pneumonia: VAP, และ catheter associated infection) คือตามแนวคิดเดิมที่ทราบกันมาก่อนแล้ว
I 3 : Isolation precautions Isolation precaution
คือ การปฏิบัติเพ่ือป้องกันหรือยับย้ังการแพร่กระจายของเชื้อ ซึ่งมีหลายอย่าง ในกรมควบคุมและป้องกันโรค แบ่งเป็น standard precaution คือมาตรการที่บุคลากรทางการแพทย์ปฏิบัติเป็นปกติในในการดูแลผู้ป่วยทุกราย โดยถือว่าผู้ป่วยทุกรายอาจเป็นพาหะของโรคโดยไม่ คานึงถึงการวินิจฉัยของโรคหรือภาวะติดเช้ือของผู้ป่วย มาตรการน้ีใช้เม่ือบุคลากรปฏิบัติงานที่คาดว่าอาจจะต้องสัมผัสกับเลือดสารคัดหลั่ง แต่ต้อง ทากับคนไข้ทุกคนให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
Transmission-base precaution คือ การป้องกันทุกขณะท่ีเข้าไปสัมผัสหรือให้การดูแลผู้ป่วยรายนั้นๆ เช่น การเข้าไปดูแลผู้ป่วย ในห้อง ทมี่ คี นไขต้ ดิ เชอ้ื ดอื้ ยา ซง่ึ ตวั นจ้ี ะเขา้ มาเสรมิ standard precaution ในกรณทต่ี อ้ งการการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ขม้ งวดขนึ้ เพราะตอ้ งปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั ในการ ดูแลผู้ป่วยที่อาจแพร่เชื้อโรคด้วยกลไกต่างๆ โดยไม่คานึงถึงโอกาสในการสัมผัสเช้ือ ส่วน Protective environment เป็นประเด็นเฉพาะสาหรับโรง พยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยภูมิต้านทานต่า จะไม่ถูกรวมไว้ในครั้งนี้
I 4 : Prevention and Control Spread of Multidrug-Resistant Organisms (MDRO)
เช้ือด้ือยา เป็นเรื่องใหญ่ที่เป็นยุทธศาสตร์ของชาติ การป้องกันการติดเช้ือในโรงพยาบาล ยุทธศาสตร์จาก 6 ข้อ เน้นกลุ่ม multidrug resistant ซ่ึงเป็นเช้ือดื้อยาอย่างกว้างขวาง (extensively drug-resistant) รวมถึงดื้อยาต้านจุลชีพทุกชนิด (pan-drug-resistant) โดยใช้แนวทาง Integrated Antimicrobial Resistance(AMR) Management system เป็นเรื่องที่สาคัญ เป็นแนวคิดของท้ังหมด ส่วนข้อมูลแนวทางการปฏิบัติ จะพบว่ามีในสื่อต่างๆ เช่น คู่มือปฏิบัติการการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลของสถาบันบาราษนราดูร
ในส่วนของ national reporting system จะเป็นประเด็นเพื่อให้ทราบกระบวนการพัฒนาคุณภาพ เช่น อัตราการล้างมือ อัตราการ ติดเชื้อ จุดประสงค์คือ เม่ือเราเห็นประเด็นเหล่าน้ี เรามีแนวทางอย่างไรในหารบริหารจัดการ ท้ังหมดนี้ไม่ใช่เรื่องไหม่ ล้วนแต่เป็นเรื่องท่ีทาอยู่แล้ว ขณะนี้ กาลังมีการประสานกับ สรพ. สานักระบาด กรมควบคุมโรค และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพ่ือให้รายงานเป็นตัวเลขเดียวที่สามารถเอาไป ใช้ประโยชน์ได้ เพราะตอนนี้ตัวเลขเป็นของคนละส่วนกัน
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   295



















































































   293   294   295   296   297