Page 296 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 296
A2-206
19th HA National Forum
M : Medication & Blood Safety :
ผศ.นพ.พิสนธ์ิ จงตระกูล
เน้น M4 Rational Drug Use ซึ่งจะมีความเชื่อมโยงกับ M,2 และ M3การใช้ยาสมเหตุผล คือ ใช้ยาเม่ือจาเป็น อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ซึ่งยานั้นต้องมีประโยชน์เหนือความเสี่ยงอย่างชัดเจน มีราคาท่ีเหมาะสม ยาไม่ซ้าซ้อน ใช้ยาในกรอบบัญชียาหลักแห่งชาติ ใช้ยาอย่างเป็นข้ันตอน ตาม evidence base ขนาดยา วิธีให้ยา ถูกต้องเหมาะสม โดยกองทุนต่างๆ อยู่ได้อย่างย่ังยืน ไม่เลือกปฏิบัติและไม่ปฏิเสธยาผู้ป่วย
ต้องการให้ Rational drug use เป็นวัฒนธรรมองค์กร มุ่งไปสู่ความปลอดภัย เกิดประโยชน์จริงต่อผู้ป่วย ด้วยค่าใช้จ่ายท่ีต่าที่สุดต่อทุก คนและสงั คม โดยองคก์ ารอนามยั โลกระบวุ า่ มากกวา่ ครงึ่ ของยาทใ่ี ชก้ บั คนไข้ มคี วามไมส่ มเหตสุ มผล ซงึ่ จะนา ไปสคู่ วามไมป่ ลอดภยั ในหลายลกั ษณะ เช่น Morbidity และ Mortality เช่น การสั่งยาที่ไม่สมควร ยกตัวอย่าง งานวิจัยในโรงเรียนแพทย์แห่งหน่ึง ที่ 58% ของคนที่ทาน Alopolinal โดย ไม่จาเป็น ซึ่ง Alopolinal จะทาให้ไตจะทางาน
ลดลงมากกว่า 26% หากไม่ปรับขนาดยา จะนาไปสู่ Severe Cutaneous Adverse Drug Reactions, Stevens-Johnson syndrome อันตรายดังกล่าวจะเชื่อมโยงไปยัง หมวด M อ่ืนๆ เรียกว่า Fetal Drug Interactions ความเสี่ยงจะมากข้ึนเรื่อยๆ ตามจานวนยาท่ีสั่ง กรณีส่ังมาก เรียกว่า poly medicine กรณีซ้าซ้อนเรียกว่า Duplicate medicine เช่น หากปวดหัว แล้วไปซ้ือยา Cafe got มาทานเรื่อยๆ ต่อมาติดเชื้อ มีการ จ่ายยา Clarithromycin ให้ อาจทาให้มือเน่า หรือ Parkinson ที่เกิดจากการส่ังยา Cinna ricin กับ Flunarizine ซ้าซ้อนเป็นต้น ท้ังๆ ที่ยาตัวเดียว ก็เกิด Parkinson’s disease แล้ว
นอกจากนี้ยังมีอันตรายจากการใช้ยาเกินขนาด ผิดวิธี ผิดความถี่ ผิดระยะเวลา จากการใช้ยาอย่างไม่ระวังในประชากรกลุ่มพิเศษ เช่น สตรีมีครรภ์ ผู้มีโรคร่วม เป็นต้น และยังมีอันตรายจากการใช้ยาต้านจุลชีพเกินความจาเป็น ซ่ึงพบบ่อยและเสี่ยงต่อการดื้อยาสุดท้ายจะไม่มียาใช้ เป็น Multiple drug resistance: MDR และอาจเป็น Extensively drug-resistant : XDR ซึ่งคนไทยติดเชื้อดื้อยามากกว่าหน่ึงแสนคน และเสียชีวิต และจากกรณีน้ี เสียชีวิต 1 คน ทุก 15 นาที
กระบวนการการพัฒนาต่อเนื่องที่สถานพยาบาลต้องดาเนินการ ใช้หลัก PLE ASE (พลีส) ดังนี้
1. P : Pharmacy and Therapeutics Committee (PTC) Strengthening สร้างความเข้มแข็งให้เกิดข้ึนกับ
คณะกรรมการ เภสชั กรรมและการบา บดั ใหม้ บี ทบาทหนา้ ทตี่ ามทอี่ งคก์ ารอนามยั โลกกา หนด เชน่ บรหิ ารจดั การใหส้ ถานพยาบาลมรี ายการ ยาเท่าท่ีจาเป็น หรือ คัดเลือกยาโดยใช้ evidence base
2. L : Labeling and Leaflet: ฉลากยามาตรฐาน ส่งเสริมการนาข้อมูลสู่ประชาชน
3. E : Essential RDU Tools : สาหรับโรคกลุ่มเป้าหมาย โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) และโรคติดเชื้อ (RUA) เพื่อให้ดาเนินการถูกต้อง เหมาะสมควรมีการแจ้งเตือนปัญหาด้วยระบบสาระสนเทศ Electronic เช่น การแจ้งค่าวิกฤติ การ Alert ส่ังยาผิด สั่งยาซ้าซ้อน จัดทาระบบส่ง เสริมความปลอดภัย เช่น ทุกวันน้ีเรารู้ว่าคนที่มี GFR ต่าไม่ควร ได้รับยาหลายอย่าง เช่น NSAIDs เป้นต้น แต่คนส่ังยาจะไม่เห็นค่า eGFR ควรให้คน สั่งยา จัดยา หรือบริหารยาสามารถเห็นค่า eGFR ได้ ขอให้ eGFR เป็นเสมือนหน่ึง V/S ที่ต้องมองเห็น เป็นต้น
296 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)