Page 312 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 312
B2-206
19th HA National Forum
1.1 ควรออกแบบรถพยาบาลให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงานให้มีความคล่องตัว สะดวกและปลอดภัยทั้งในขณะเกิด/ไม่เกิดอุบัติเหตุ มีงาน วิจัยบางส่วนระบุเกี่ยวกับสภาพความปลอดภัยของรถพยาบาลว่า
1. รถพยาบาลควรออกแบบเก้าอี้บนรถให้พยาบาลต้องลุกจากเก้าอี้ 2. กรณีมีที่รัด Belt ควรต้องรัด
3. อุปกรณ์ควรยึดติดให้แน่นทุกช้ินเพ่ือป้องกันตกหล่นเมื่อเกิดเหตุ
Concept ใหม่ควรออกแบบให้มีอุปกรณ์อยู่ใกล้ตัวเพื่อลดการเอ้ือมหยิบของ และควรออกแบบให้พยาบาลสามารถหยิบของบนรถ ได้โดยไม่ต้องปลดเข็มขัดไปหยิบของ และไม่ควรมีสิ่งของหรือวัตถุยื่นออกมาเพราะถ้าเกิดอุบัติเหตุอาจทิ่มแทงตา ลําาคอ
1.2 ควรมีระบบ Fixation (รัดตรึง) และควรยึดตามมาตรฐาน 10 G (การติดต้ังอุปกรณ์ทุกอย่างบนรถพยาบาลต้องทนแรงได้สิบเท่ากรณี เกิดอุบัติเหตุ/มีการชนทั้งด้านหน้า-หลังและซ้าย-ขวา) เป็นมาตรฐานความปลอดภัยท่ีเรียกว่า “Safety 10 G”
2. On-Scene Ambulance Safety
กรณีการดูแลผู้ป่วยในสถานที่เกิดเหตุและได้รับการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการถูกรถชน มีหลักการที่สาคัญในการป้องกันคือ “Safety is the first priority” โดยต้อง 1) Safety ตัวเอง 2) Safety เพื่อนร่วมทีม 3) Safety ไทยมุง 4) Safety ผู้ป่วยจากการช่วยเหลือ
ทาอย่างไรจะ Safety?
1. Personal Gear : การแต่งกายควรเป็นเส้ือผ้าสีโทนที่เห็นชัดเจนท้ังกลางวันและกลางคืน มีแถบสะท้อนแสง
2. Scene Control : มีการวางแนวป้องกัน มีกรวยจราจร มีทีมช่วยปฎิบัติการในสถานที่เกิดเหตุได้แก่ ตารวจและ ดับเพลิง และตาแหน่ง การจอดรถควรจอดให้เหมาะสมห่างจากจุดเกิดเหตุอย่างปลอดภัยโดยจอดห่างจาก Scene ประมาณ 15 เมตร (ยกเว้นถ้าพบว่ามีน้ามันหก/มีควัน ให้จอดห่าง 30 เมตร) และถ้าพบสารเคมีร่ัวไหลควรจอดห่าง 100 เมตร
กรณีเกิดเหตุระเบิด การปฏิบัติงานควรต้องอยู่ห่างจุดเกิดเหตุ 600 เมตร ห้ามคัดแยกผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุเพราะอาจเกิดระเบิดคร้ังที่ 2 แต่สามารถเข้าไปเพ่ือนาผู้ป่วยออกมาได้ และห้ามใช้วิทยุส่ือสารที่ Hot Zone เพราะอาจเป็นตัวจุดระเบิด
สรุป บุคลากรทางการแพทย์มีคุณค่า แต่จะคงความมีคุณค่าได้เมื่อทางานอย่างมีคุณภาพและคุณธรรม อนุชา กาศลังกา
L2 Legal ความปลอดภัยทางกฎหมาย
ประเด็น Legal ที่เกี่ยวข้องกับทางการแพทย์ ได้แก่
1. Informed Consent
ซึ่งมีประโยชน์คือ ทาให้ผู้ป่วย/บุคลากรทางการแพทย์ได้ทราบข้อเท็จจริง เป็นไปตามสิทธิของผู้ป่วยและเป็นไปตามกฎหมาย
องค์ประกอบของ Informed Consent และการให้ความยินยอม
1. ต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพเกี่ยวกับการให้บริการอย่างเพียงพอ (ไม่ควรให้เซ็นชื่ออย่างเดียว หากไม่ปฏิบัติเป็นการละเว้นการ ปฏิบัติหน้าที่)
2. เพ่ือประกอบการตัดสินใจในการรับบริการ/ไม่รับบริการอย่างเพียงพอ โดยการเซ็น/ไม่เซ็นรับบริการ
หากไมป่ ฏบิ ตั ถิ อื เปน็ การกระทาํา ความผดิ สาํา คญั ตอ้ งมหี ลกั ฐานในการใหข้ อ้ มลู เพอื่ ประโยชนแ์ ละความปลอดภยั ทางกฎหมาย
ยกเว้น กรณีรีบด่วนท่ีผู้ป่วยอยู่ในภาวะรีบด่วนและมีอันตรายถึงชีวิต/หรือกรณีไม่สามารถแจ้งญาติ/ผู้ปกครองได้ในขณะนั้น ผลจากการไมใ่ หข้ อ้ มลู แกผ่ ปู้ ว่ ย ผปู้ ว่ ยไมม่ ขี อ้ มลู ในการตดั สนิ ใจและบคุ ลากรไมป่ ลอดภยั ดา้ นกฎหมายถอื วา่ มคี วามผดิ ไดจ้ ากการไมป่ ฏบิ ตั ิ
ตามกฎหมาย ไม่ปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย หรือถ้าถูกฟ้องร้องศาลจะถือว่าประมาทและถ้าแพ้คดีจะถูกดาเนินการตามกฏหมายและถูกลงโทษทางวินัย
2. ความยินยอม
ตอ้ งมหี ลกั ฐานเปน็ หนงั สอื กรณรี บั บรกิ าร/ไมร่ บั บรกิ ารตอ้ งมบี นั ทกึ ไวใ้ นเวชระเบยี น หรอื กรณไี มม่ ผี ใู้ หค้ วามยนิ ยอมนนั้ ใหบ้ คุ ลากรทางการ แพทย์บันทึกไว้และให้การรักษาพยาบาลต่อไป ซึ่งถ้าทําาตามมาตรฐานแล้วหากไม่มีหนังสือยินยอมก็ไม่มีความผิด ยกเว้นกรณีผู้ป่วยปฏิเสธ
312 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)