Page 317 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 317

B4-206
19th HA National Forum
 ตัวอย่างการใช้ระบบ LINK SHARE LEARN ที่ได้ผลลัพธ์ดีคือ การทา Medication reconciliation (กระบวนการท่ีจะให้ได้มาซึ่งข้อมูล รายการยาทผี่ ปู้ ว่ ยใชท้ บ่ี า้ นกอ่ นเขา้ มารบั การรกั ษาตวั ในโรงพยาบาล) ซง่ึ เรมิ่ จากทมี พยาบาลและเภสชั กร ปี 2553 ไดส้ รา้ งแนวทางปฏบิ ตั ขิ องแพทย์ พยาบาล เภสัชกร และใช้ IT เป็นเครื่องมือช่วย ขยายวงการปฏิบัติไปทั้ง 15 ภาควิชา ตึกผู้ป่วย OPD, IPD พบว่ากลยุทธ์ LINK SHARE LEARN ช่วยลดความคลาดเคลื่อนทางยาลงไปได้มาก และสอดคล้องกับทิศทางของประเทศที่ประกาศตั้งแต่ปี 2558 ในเรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เกิด ประโยชน์ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีการใช้ยาต่อเน่ือง
 สิ่งที่นามาใช้ในการวัดผลการปฏิบัติให้เกิด Safety culture คือ Safety culture survey (แบบสารวจวัฒนธรรมความปลอดภัยใน โรงพยาบาล) และการประเมนิ เครอื่ งมอื พฒั นาคณุ ภาพทใ่ี ช้ จงึ นา กลยทุ ธการคน้ หา Trigger tool (ตวั สง่ สญั ญาณในการคน้ หาเหตกุ ารณไ์ มพ่ งึ ประสงค)์ จากผปู้ ว่ ยทร่ี บั เขา้ มารบั บรกิ ารทกุ หนว่ ยงานในโรงพยาบาล มกี ารทบทวนปญั หาทพี่ บในผปู้ ว่ ยและตอ้ งรบี รายงานแพทยท์ นั ทโี ดยกา หนดเปน็ Siri raj Concurrent Trigger Tool (SiCTT) by MEWs (ตัวส่งสัญญาณ) แพทย์ที่ได้รับรายงานจะมาดูผู้ป่วยทันที ทาให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยมากขึ้น มีการเตรียมการล่วงหน้าก่อนที่ผู้ป่วยจะมีอาการแย่ลง ตัวอย่างเช่น ตัวส่งสัญญาณ INCREASE INTRACRANIAL PRESSURE ทาให้อัตราตาย ในผู้ป่วยท่ีมีความดันในกะโหลกศรีษะสูง ลดลงจาก ร้อยละ 20 เหลือเพียง ร้อยละ 3
 นอกจากน้ีมีการกาหนดตัวส่งสัญญาณความเส่ียงตัวอื่น เช่น PRESSURE ULCER ต้องสอนให้พยาบาลประเมินผู้ป่วยเป็น และป้องกันการ เกิดแผลกดทับ ตัวส่งสัญญาณการติดเชื้อทางเดินหายใจในผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ (VAP) เป็นต้น ท้ังนี้ฝ่ายการพยาบาลบรรจุ Siri raj Concurrent Trigger Tool (SiCTT) by MEWs (ตัวส่งสัญญาณ) เป็นนโยบายเชิงกลยุทธ์ ทาให้สามารถขยายการดาเนินการได้ทั้งโรงพยาบาล พยาบาลผู้ปฏิบัติ งานทุกคนมีการพัฒนาศักยภาพ และผู้ป่วยปลอดภัยมากขึ้น
คุณค่าของการพัฒนาคุณภาพที่ยั่งยืนอีกส่วนหนึ่ง คือ กิจกรรมท่ีทาอย่างต่อเนื่องทุกภาควิชาในโรงพยาบาลศิริราช โดยทีมแพทย์เป็นแกน หลักร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ ในการทา Clinical tracer ในกลุ่มโรคสาคัญของแต่ละภาควิชา โดยทีมพัฒนาคุณภาพไปช่วย PLUS เสริมให้ประเด็น คุณภาพและความปลอดภัยในมุมมองผู้ป่วยชัดเจนขึ้น เสริมความเชี่ยวชาญของทีมด้วยการเทียบเคียงและสร้างองค์ความรู้และงานวิจัย มีการทา Safety culture survey ทุก 2 ปี และนาผลลัพธ์มาเรียนรู้ ปรับแนวทางเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยให้ครอบคลุมทุกกลุ่มโรคท่ีมีความเส่ียงให้มาก ที่สุด เพื่อมุ่งสู่การเป็น Excellence Center และ High performance organization
317 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
 



























































































   315   316   317   318   319