Page 318 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 318
B4-206
19th HA National Forum
ดร.พัชรินทร์ บุญยะรังสรรค์
แชร์ประสบการณ์เรื่อง Safety culture ในการดูแลผู้ป่วย เน่ืองจากโรงพยาบาลประกอบด้วย คนหลากหลายสาขาวิชาชีพ ส่ิงที่แสดงออก และความคิดย่อมแตกต่างกัน ผู้นาระดับกลางและผู้นาหน่วยงานมีบทบาทสาคัญในการสร้าง Safety culture โดยการสร้างบรรยากาศท่ีดี สื่อสาร ข้อมูลสาคัญให้ทั่วถึงให้มีการเรียนรู้ร่วมกัน ทุกคนในองค์กรคานึงถึงความปลอดภัย การติดตามดู Adverse event ทาการทบทวนและติดตามแก้ไข ร่วมกันสร้างแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดข้ึนอีก ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นหลายช่องทาง (Check Us Program)
“Your safety- our passion”
Safety Culture Awareness เปน็ ตวั อยา่ งความปลอดภยั ในการรบั บรกิ าร ทตี่ อ้ งมกี ารระบชุ บี้ ง่ ชอื่ นามสกลุ วนั เดอื นปเี กดิ ทกุ กระบวนการ ต้ังแต่การติดต่อเวชระเบียน การเข้าพบแพทย์ ตรวจเลือด เอ็กซเรย์ การฟังผลเลือด การทาแผล การรับยา ก่อนผ่าตัดแพทย์ทาเคร่ืองหมายลงบน อวัยวะท่ีจะทาการผ่าตัดท่ีมี 2 ข้าง เป็นต้น พยาบาลผู้ดูแลต้องอธิบายขั้นตอนปฏิบัติต่างๆ อย่างชัดเจนจนผู้ป่วยเกิดความเข้าใจและให้ความร่วมมือ ป้องกันข้อผิดพลาดที่มีโอกาสเกิดด้วยกระบวนการตรวจสอบการชี้บ่งผู้ป่วย ผู้ป่วยได้รับการตรวจรักษาถูกต้อง ถูกคน ทาให้เกิดความปลอดภัยใน การรับบริการอย่างเต็มท่ี
ทพญ.พิ มพา อภิสิทธิว์ ิทยา
โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยพุ ราชตะพานหนิ ซง่ึ เปน็ โรงพยาบาลชมุ ชนขนาด 90 เตยี ง ใหค้ วามเหน็ วา่ องคก์ รทม่ี คี วามเสย่ี งตอ้ งสรา้ งวฒั นธรรม ความปลอดภัย (Safety culture) ทาให้องค์กรเป็นที่น่าไว้วางใจ พบว่าส่ิงท่ีท้าทายความสามารถขององค์กร คือ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ ในการทางานให้เกิดความปลอดภัยต่อตนเองและผู้รับบริการ
แนวทางการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (Safety culture)
1. วิเคราะห์ความเสี่ยงโดยเอาโอกาสท่ีจะเกิดความเส่ียง x ความรุนแรง 2 .ปฏิบัติตามกฎโดยเคร่งครัดในข้อท่ีมีความเสี่ยงสูง
3. รายงานโดยไม่ปิดบัง
4. เปิดใจกว้างในการทบทวนแลกเปล่ียนเรียนรู้ แก้ไขปัญหา
5. พร้อมท่ีจะทักท้วงก่อนที่จะเกิดความผิดพลาด แม้ว่าผู้ที่ผิดพลาดจะเป็นหัวหน้างานก็ตาม
ในปี พ.ศ. 2561 มีการทาโครงการ “ปิยวาจา” ปรับทัศนคติหัวหน้างานให้เข้าใจว่า เม่ือไรท่ีผู้ใต้บังคับบัญชาทักท้วง แสดงว่ามีคนระวังหลัง ให้ หวั หนา้ กลา่ วคา ขอบคณุ ผทู้ กั ทว้ ง ทา เปน็ ตวั อยา่ งใหล้ กู นอ้ งเหน็ และเกดิ ความไวว้ างใจ กลา้ รายงาน กลา้ เตอื นกอ่ นทจ่ี ะเกดิ ความเสยี่ ง ใหเ้ กดิ ความ ปลอดภัยทุกระดับ ยกย่องชมเชยผู้ทาดี ไม่มีการลงโทษ
ผลของการทา Safety culture survey เร่ืองวัฒนธรรมการรายงาน การสื่อสารอย่างเปิดกว้างระดับคะแนนต่า จึงต้องทากิจกรรมรณรงค์ การรายงานอุบัติการณ์ มีการรายงานเพิ่มข้ึนจาก 57% เป็น 67% แต่ผลท่ีเกิดขึ้นตามมาคือ ทาให้เจ้าหน้าท่ีรู้สึกไม่ไว้วางใจองค์กรที่ทางานอยู่ รู้สึก ไม่ปลอดภัย เน่ืองจากไม่ได้รับการส่ือสารเร่ืองการแก้ไขปัญหาท่ีรายงาน จึงเกิดกิจกรรม จัดให้มีการทบทวนอุบัติการณ์ใน risk room ทุกวันจันทร์ และทุกคร้ังจะทบทวนข้อตกลงก่อนท่ีจะทบทวนอุบัติการณ์ดังนี้
1. วัตถุประสงค์ในการทา risk room ทาเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในคร้ังต่อไปทั้งผู้ป่วยและผู้ให้บริการ
2. ไม่มุ่งเน้นหาคนผิด เพราะเป็นการศึกษาย้อนหลัง
3. มุ่งหาแนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันความผิดพลาด
เจา้ ของเรอ่ื งคอื หนว่ ยงานทเี่ กดิ เหตเุ ปน็ ผเู้ ลา่ เหตกุ ารณ์ ไมก่ ลา่ วถงึ ตวั บคุ คล ยา้ วตั ถปุ ระสงคว์ า่ ทบทวนเพอื่ ความปลอดภยั ของผปู้ ว่ ย หนว่ ย
งานอนื่ ทเ่ี ขา้ มาชว่ ยกนั วเิ คราะหป์ ญั หาและรว่ มกนั หาแนวทางการปฏบิ ตั เิ พอ่ื ปอ้ งกนั ความผดิ พลาด ทา ใหเ้ กดิ แนวปฏบิ ตั ใิ หมท่ ป่ี ลอดภยั กวา่ เจา้ หนา้ ท่ี รู้สึกปลอดภัยมากขึ้น ให้ความร่วมมือมากข้ึน ผลลัพธ์ท่ีดีทาให้เกิดแนวทางปฏิบัติและวัฒนธรรมใหม่เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย เมื่อมารับบริการ ที่โรงพยาบาลมากขึ้น
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 318