Page 322 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 322
C1-206
19th HA National Forum
Trauma&EmergencyAdministrationUnit(TEAUnit)เปน็ SMARTTwenty-foot(SMARTTEU)โดยผนวกโปรแกรมของรพ.ชลบรุ ี กับ SSB รพ.ระยอง ให้ข้อมูลไหลเข้าแบบ real time ใช้อัตรากาลังน้อย feedback ข้อมูลผู้เกี่ยวข้องเพ่ือแก้ไข RTI, EOC, RRT
การพัฒนาศัยกภาพบุคลากร แพทย์เฉพาะทางสาขาอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน วางแผนเพ่ือเป็นแถวหน้า เปิดการเรียนการสอนแพทย์เฉพาะทางใน
อนาคต
วางแผน ซ้อมเหตุ โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม จัดให้นักเรียนอาชีวะ สายอาชีพ ท่ีมีโอกาสก่อเรื่องวิวาทใน และนอกโรงพยาบาล ร่วมซ้อม
แผน ให้เห็นสภาพการทางานของบุคลากรในโรพยาบาล เพื่อสร้างความตระหนักในปัญหาความรุนแรง ความปลอดภัยของรถพยาบาลมีการตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ ในโครงการ safety driver safety patient ตรวจท้ังขาเข้า ขาออก
หาที่พักให้ท้ังพยาบาลและ พนักงานขับรถ
Palliative in Acute loss at ER จัดให้มีการดูแลญาติในภาวะที่มีการสูญเสีย มีแนวทางการดูแลคนไข้ที่มีแนวโน้มฆ่าตัวตาย พัฒนาคุณค่า
เข้าในงาน มีแบบบันทึกการดูแล ผลที่ได้รับไม่เฉพาะความพึงพอใจ สิ่งที่ได้กลับมาเป็นจิตอาสา เป็นหุ้นส่วนโรงพยาบาล (บทเรียนจากผู้ป่วยไข้เลือด ออก ลดอัตราตาย อัตราป่วย)
Kiken Yoshi Training (KYT) proactive risk managment ใช้การสร้างแรงกระตุ้น ลดภาวะเส่ียงในการทางานก้าวคนละก้าว จุดหมาย เป็นอย่างไรไม่สาคัญ ระหว่างทางนั้นสาคัญกว่า การเรียนรู้ที่เกิดระหว่างทางเป็นการพัฒนาก็สาคัญไม่น้อยกว่ากัน เน้นพลังของทีม เช่ือว่าทีมช่วยกัน
2P ทางกายภาพ คุณภาพ เริ่มทาที่ ER เน้นท่ีเจ้าหน้าท่ี และผู้ป่วย
นพ.จุลพงศ์ อจลพงศ์
Start up roadmap to 2P safety hospital Chiangrai Prachanukroh Hospital
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ โรงพยาบาลตติยภูมิข้ันสูง ระดับ A ขนาด 758 เตียง ประกอบด้วย 5 ศูนย์ความเชี่ยวชาญ และศูนย์ แพทย์ศาสตร์ศึกษาช้ันคลินิก
จุดแข็ง ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 5 ครั้ง มีศูนย์คุณภาพเข้มแข็ง ผู้นาท่ีมุ่งมั่น คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระบบ eHOIR และติดตาม morning talk ทุกวันพุธ มุ่งมั่นสู่ AHA ในปี 2563 ตามมาตรฐานฉบับใหม่
ระบบบริหารความเส่ียง
กระบวนงานการจัดการความเส่ียง ประกอบด้วยการระบุความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง (โอกาสที่จะเกิดและผลที่จะตามมา) การจัด ลาดับความสาคัญของความเสี่ยงแต่ละชนิด แผนควบคุมความเส่ียง การกากับติดตามและทบทวนความเสี่ยง
ทะเบียนการจัดการความเส่ียง (Risk register) ควรมีการจัดเก็บข้อมูลความเส่ียงทุกชนิด (ท้ังด้านคลินิก และด้านท่ีไม่ใช่คลินิก) และมีการ ปรับปรุงข้อมูลอย่างสม่าเสมอ ความเสี่ยงแต่ละชนิดที่พบควรมีการจัดระดับตามความรุนแรงและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับองค์กร ควรมีแผนใน การหลีกเล่ียงหรือควบคุมความเสี่ยง ลดความเส่ียง และกากับติดตามความเสี่ยงแต่ละชนิด แล้วนาข้อมูลจากการกากับติดตามและทบทวนไปใช้ใน การพัฒนา
ระบบบริหารความเส่ียงดาเนินการแบบบูรณาการไปกับระบบงานที่เป็นความเส่ียงที่สาคัญขององค์กร องค์กรบริหารจัดการโปรแกรมสุขภาพและความปลอดภัยของบุคลากร อย่างมีประสิทธิภาพ (อาชีวอนามัย)
องคก์ รสรา้ งความมนั่ ใจวา่ อาคารสถานที่ พนื้ ทใ่ี ชส้ อย อปุ กรณเ์ ครอื่ งมอื ยา และวสั ดคุ รภุ ณั ฑท์ ใ่ี ช้ เปน็ ไปตามทกี่ ฎหมาย/ระเบยี บทเี่ กยี่ วขอ้ ง
กาหนด อุปกรณ์เคร่ืองมือถูกใช้งานโดยคานึงถึงความปลอดภัย
RMC : Leadership involement, Effective RMC, Risk management concept, Safety culture Leadership
ด้านบริหารจัดการความเส่ียง เป็นผู้จัดการความเส่ียง บรรจุในแผนยุทธศาสตร์ของโรพยาบาล กาหนดนโยบาย เข้าถึงตัวชี้วัดตัวบุคคล
นโยบายความเสี่ยงของโรงพยาบาล มุ่ง 2P safety มีการกากับความเส่ียง ข้ึนทะเบียนบัญชีความเสี่ยง กาหนดผู้รับผิดชอบ ทุกหน่วยงาน มีส่วนสนับสนุนในการจัดการความเสี่ยง ต้ังแต่การค้นหา ป้องกัน จัดการ และเฝ้าระวัง เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล
2P safety getting zero ในประเด็น การผ่าตัดผิดคนผิดข้างผิดตาแหน่งผิดวิธี แพ้ยาซ้า ให้เลือดผิดหมู่ บุคลากรถูกทาร้าย การพลัดตก หกล้ม อุบัติเหตุจากการส่งต่อ
Effective RMC
กา หนดบทบาทหนา้ ที่ อยา่ งชดั เจน ในแตล่ ะความเสย่ี ง มกี ารสรปุ ผลงาน นา เสนอ กรรมการบรหิ าร สว่ นรว้ มในกรรมการระดบั ตา่ งๆ เชอ่ื ม โยงองค์การแพทย์ พยาบาล PCT เสริมเนื้อหาการบริหารความเสี่ยงในหลักสูตรศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 322