Page 35 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 35

B2-200
19th HA National Forum
  Healthcare
ประกอบด้วย Health Promotion, Disease Prevention, Disease Treatment และ Rehabilitation ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับ 4 องค์ประกอบ นี้ ไม่ใช่ Health Care Professional อย่างเดียว การส่งเสริมสุขภาพไม่ได้เกิดที่โรงพยาบาลเท่าน้ันประชาชนคนไทยทุกคนมีส่วนเกี่ยวข้องด้วย ถ้าเรามี health public education เพียงพอ คนไทยมีการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ส่งผลให้การเจ็บป่วยลดลง เรามีเงินเหลือในระบบมากขึ้น สุขภาพ กายที่ดีข้ึน ส่งต่อสุขภาพใจที่ดีขึ้น ผูกไปกับปัญหาของสังคม ปัญหาเศรษฐกิจของสังคมที่ตามมา
Cost
ประเทศไทยมีกองทุนต่างๆ ท่ีรับผิดชอบดูแลเรื่องการบริการสุขภาพ มีภาคเอกชน บริษัทประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ท่ีเก่ียวข้อง
Quailty
มีระบบคุณภาพท่ีมีการกากับดูแล อาทิเช่น สถาบันรับรองคุณภาพช่วยดูแลระบบคุณภาพของสถานพยาบาล มีองค์กรวิชาชีพ เช่น สภาวิชาชีพ ดูแลผู้ประกอบวิชาชีพให้ได้มาตรฐานท่ีควรเป็น มีสถาบันการศึกษาที่ผลิตบุคลากรเข้ามาสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง สิ่งเหล่านี้ต้องร่วมมือ และคุยกัน ยกตัวอย่างเร่ือง 2P Safety ปัจจุบันได้ถูกถ่ายทอดปลูกฝังไปยังการศึกษาเร่ิมต้ังแต่สถาบันที่ผลิตบุคลากรจนถึงสถานบริการสุขภาพ
Access
การเข้าถึง ภาครัฐ ภาคเอกชน ประเทศไทยเร่ิมเชื่อมโยง 2 ฝ่าย ต้องไม่คิดว่าแต่ละฝ่ายเป็นศัตรูกัน ควรทางานประสานงานกัน
ทั้ง 3 ประการ ควรเชื่อมโยงกัน โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานข้อมูลสุขภาพ health information ข้อมูลต้องถูกต้องเชื่อมโยงระหว่าง Health Service กับ Health Education แต่ละประเทศจะสร้างบุคลากรอย่างไร ต้องกับมาดูปัญหาของประเทศน้ันว่าคืออะไร ต้องการบุคลากร ประเภทไหน รู้เรื่องอะไร ทางานกันอย่างไร เพ่ือตอบโจทย์ของประเทศ ในขณะเดียวกัน โลกปัจจุบันนี้ปัญหาสุขภาพของประเทศสามารถผ่าน ชายแดนไปยังประเทศใดประเทศหน่ึงได้ง่ายมาก health system จึงมีส่วนเก่ียวข้องกับประเทศอื่นด้วย โจทย์ปัญหาสุขภาพของประเทศต้องต้ังบน ฐานข้อมูลท่ีทันเวลา (real time) ประเทศไทยเรามีข้อมูลด้านสุขภาพที่ยังไม่สมบูรณ์ เรามีข้อมูลเยอะแต่เรามี intervention ที่จะวางแผนนาข้อมูล มาแก้ไขน้อย สิ่งสาคัญคือ ประเทศไทยทางานในแนวด่ิงเยอะ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้างาน แต่พึงระวังว่าการแก้ปัญหาดังกล่าวอาจก่อให้เกิดปัญหา กับหน่วยงานอ่ืนที่อยู่ในระนาบเดียวกัน
Health equity
ระหว่างค่าใช้จ่ายเป็น value (คุณค่า) ท่ีเกิดขึ้น ถ้าเรามองค่าใช้จ่ายอย่างเดียว เรามองไม่เห็นผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร เราอาจมีค่าใช้จ่ายเกิน ผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในขณะเดยี วกนั ถา้ เรามองผลลพั ธอ์ ยา่ งเดยี วไมม่ องคา่ ใชจ้ า่ ย สดุ ทา้ ยเราอาจมเี งนิ ไมเ่ พยี งพอทบี่ รหิ ารในระบบ อยา่ งไรกต็ ามผลลพั ธ์ สุดท้าย คือ value ต้องได้ผู้รับบริการ ทุกค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปต้องส่งผลให้ value เกิดข้ึนกับผู้รับบริการ ทิศทางของประเทศไทยกาลังเคลื่อนไปตามนี้ ซึ่งอาศัยหลักการของ value based health care
    สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   35





















































































   33   34   35   36   37