Page 37 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 37

B2-200
19th HA National Forum
 pecialist ไปอยู่ที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยท่ีเจ้าตัวอยู่ในพื้นที่ สามารถเห็นคนไข้ได้ real time ผ่านทาง telemedicine ส่งผลให้การบริการ สขุ ภาพดขี นึ้ ในทที่ ไี่ มม่ ี specialist อาจสง่ ผปู่ ว่ ยเขา้ ไปหา (patient motility) แตใ่ นระบบสขุ ภาพทด่ี บี างครงั้ อาจตอ้ งสง่ specialist เขา้ หาคนไข้ เชน่ มหาวิทยาลัยคิวชิว ไม่มีศัลยแพทย์ระบบประสาทและสมอง แต่มีคนไข้ผ่าตัดสมองสัปดาห์ละ 1 ราย เหตุผลที่ไม่มีความจาเป็นต้องมีศัลยแพทย์ ระบบประสาทและสมอง เน่ืองจากทางมหาวิทยาลัยสามารถจัดหาศัลยแพทย์ระบบประสาทและสมองนั่งเฮลิคอปเตอร์มาทาการผ่าตัดให้ท่ีคิวชิว การ share resource person (doctor motility) เป็นส่วนหน่ึงที่ควรจะทาเพื่อให้ระบบบริการสุขภาพดีขึ้น
เร่ืองของ Equity (รูป 2) คน 3 คนดูการแข่งขันในสนามฟุตบอล คนท่ี 1 ตัวสูงไม่ต้องใช้กล่องก็มองเห็นภาพในสนาม คนที่ 2 ต้องใช้กล่อง 1 กล่องจึงจะมองเห็นภาพในสนาม คนท่ี 3 ตัวเต้ียแม้ใช้กล่อง 1 กล่องก็ไม่สามารถมองเห็นสนามได้ ต้องใช้ 2 กล่อง ถ้าเปรียบการมองเห็นสนาม เป็นผลลัพธ์ของ health equity ทุกคนควรจะมองเห็นการแข่งขันสนาม โดยคนที่ 1 เอากล่องให้คนที่ 3 คาถามคือใครเป็นผู้จ่ายเงินค่ากล่องให้คน เหลา่ นี้ ถา้ เราเปน็ เจา้ ของสนาม และทนี่ ง่ั บนอฒั จนั ทรเ์ ตม็ เราตอ้ งการเออื้ เฟอ้ื ใหค้ นอนื่ ๆ ทอี่ ยรู่ อบนอกไดด้ กู ารแขง่ ขนั ดว้ ย โดยซอ้ื กลอ่ งใหค้ นจา นวน หนึ่งที่ไม่สามารถซื้อต๋ัวเข้าไปดูการแข่งขันบนอัฒจันทร์ (เปรียบเสมือนรัฐเป็นผู้ออกเงิน) แต่เงินมีจากัดอยู่ในระดับหน่ึง ถ้าคนมีเป็นจานวนพันคน มีคนที่พร้อมจะจ่ายเงินให้คนกลุ่มนี้ คือคนที่อยู่บนอัฒจันทร์ซึ่งเป็นคนจ่ายเงินค่าตั๋วเพื่อดูการแข่งขันในสนาม ถ้าเรานากาไรท่ีได้จากการขายตั๋วให้ คนบนอฒั จนั ทรซ์ งึ่ เขาจา่ ยได้ นา มาซอื้ กลอ่ งใหก้ บั คนทจ่ี า่ ยไมไ่ ดไ้ ดม้ โี อกาสเหน็ การแขง่ ขนั ในสนาม ทา ใหม้ ที กุ คนมโี อกาสไดเ้ หน็ การแขง่ ขนั ในสนาม เหมือนกัน การออกแบบระบบบริการสุขภาพท่ีดี จะมีการ shift เงินจากกลุ่มที่มีเงินไปให้กับกลุ่มคนที่ขาดโอกาส โดยคนที่มีเงินไม่เดือดร้อน ทา อยา่ งไรใหร้ ะบบบรกิ ารสขุ ภาพทา สง่ิ เหลา่ นใี้ หเ้ กดิ ขน้ึ ปจั จบุ นั สงิ่ ทเี่ หน็ คอื กลมุ่ กองทนุ ทง้ั หลายทบ่ี รจิ าคใหผ้ ปู้ ว่ ยตามโรงพยาบาลตา่ งๆ ยกตวั อยา่ ง เช่น ผู้ป่วยท่ีมารักษาที่โรงพยาบาลศิริราช บริจาคเงินให้ผู้ป่วยยากไร้ ด้อยโอกาส เป็นต้น ส่ิงเหล่านี้เกิดขึ้นตลอดเวลา แต่ทาอย่างไรให้เกิดเป็นระบบ ทั้งประเทศ คนมีเงินเพียงพอสามารถจ่ายทดแทนให้คนที่ขาด ในความเป็นจริง ปัจจัยด้านการเมืองมีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น การซื้อกล่องให้กับคนที่เห็น อยู่แล้ว ไม่ได้ทา ให้เห็นมากขึ้นไปอีก คนท่ีไม่เห็นถูกขโมยกล่องไปทา ให้ยิ่งมองไม่เห็น นี่คือผลของผู้มีอา นาจในการกากับดูแลแต่วางแผนไม่ถูกต้อง ทาให้มีการใช้จ่ายเงินไม่ถูกต้อง สถานการณ์ปัจจุบัน บางโรงพยาบาลพออยู่ได้ แต่บางโรงพยาบาลขาดสภาพคล่อง การบริหารการเงินต้องตั้งอยู่บน ฐานข้อมูลที่ถูกต้อง จะทาให้โรงพยาบาลมี equity ไม่ใช่ equality การจ่ายต่อหัวประชากร (per capita) เท่ากันในทุกพื้นท่ีไม่ใช่สิ่งที่ควรจะเป็น เนื่องจากแต่ละพื้นที่ มีโรคไม่เหมือนกัน เศรษฐานะของประชากรแตกต่างกัน เศรษฐกิจของแต่ละจังหวัดไม่เท่ากัน
หลักการ เมื่อไหร่มีคนจ่ายเงินเพื่อ cover want ที่เขาต้องการ เราจะมีเงินเหลือในระบบมากข้ึน เพื่อไปช่วย need ให้กับคนท่ีต้องการ need ซึ่งก็คือ หลักการ co-payment เป็นระบบที่หลายประเทศทา เกิดจากคนในประเทศน้ันยินดีจ่ายเพื่อความสะดวกสบาย เพื่อให้มีเงินในระบบ ช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อน จึงเป็นหน้าท่ีของเราที่ต้องช่วยสื่อสารส่ิงเหล่าน้ีให้เข้าใจตรงกันว่า co-payment เป็นการช่วยให้มีเงินในระบบเหลือมากข้ึน เพ่ือไปช่วยให้ need กับคนที่ต้องการจริงๆ
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   37





























































































   35   36   37   38   39