Page 36 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 36

B2-200
19th HA National Forum
 Population health
เชื่อมโยงระหว่าง value กับการเข้าถึง ถ้าคุณภาพดีขึ้น ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับ ทาให้คนส่วนใหญ่ของสังคมได้รับส่ิงที่มีคุณภาพ ส่งผลให้ สุขภาพดีด้วย สิ่งสาคัญทฤษฎี Iron Triangle of Healthcare นี้ ทุกส่วนต้องทางานด้วยกัน ทุกๆ คาต้องถูกอธิบายให้เข้าใจตรงกัน
Equity
มีปัจจัยด้านการเมืองส่งผลให้ equity เป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้ ไม่มีใครในโลกน้ี หลุดจากปัญหาหรือผลเรื่องการเมือง การเมืองเป็นเรื่อง ทีดี แต่การเมืองมีผลกระทบต่อ concept นอกจากนี้ equity ยังขึ้นอยู่กับ social power และเศรษฐกิจ
แก่นของการเข้าถึงบริการสุภาพ คือ ต้องแยกระหว่าง ความจาเป็น (need) กับความต้องการ (want) ส่ิงใดท่ีเป็น need สิ่งนั้นต้องให้ ส่ิงใดท่ีเป็น want เป็นส่ิงที่ไม่จาเป็น แต่ทาให้เราสะดวกสบายมากข้ึน สิ่งนี้ถ้ามีเงินก็ไม่ใช่ปัญหา แต่ถ้าไม่มีเงิน จะเป็นส่ิงท่ีต้องทบทวนก่อนท่ีจะให้ ปัญหาท่ีอาจพบอีกประการหนึ่ง คือ การที่พิจารณาว่าส่ิงใดเป็น need สิ่งใดเป็น want แต่ในบางครั้งไม่สามารถแบ่งได้ชัดเจน (grey zone) เช่น กรณีวัคซีนป้องกันเย่ือหุ้มสมองอักเสบ (hib vaccine) ซ่ึงมีการคิดความคุ้มค่าคุ้มทุนของการฉีดวัคซีนตัวนี้กับ outcome ถ้าประเทศใดคิดว่าเป็น need ก็จะมีนโยบายให้ hib vaccine ในเด็กทุกราย ถ้าประเทศใดคิดว่าเป็น want ก็จะไม่ได้ให้วัคซีนชนิดนี้ในเด็กทุกราย ประเทศไทยในอดีต ที่ผ่านมาคิดว่าเป็น want จึงไม่ได้ให้วัคซีนตัวนี้ในเด็กทุกราย แต่ปีหน้าประเทศไทยถือว่า hib vaccine เป็น need คือ hib vaccine จะถูกนาเข้า national immunization program เพอ่ื ใหว้ คั ซนี ตวั นใี้ นเดก็ ทกุ ราย จากวคั ซนี ราคาแพงสามารถจา หนา่ ยเปน็ วคั ซนี ราคาถกู ไดจ้ ากการตอ่ รองกบั ผผู้ ลติ ดังนั้นในช่วงเวลาต่างกันสิ่งที่เป็น need อาจเปลี่ยนเป็น want ได้ การจะเป็น need หรือเป็น want เกี่ยวกับปัจจัยด้านการเมือง การจัด priority ขึ้นกับข้อมูล ถ้าข้อมูลเป็นจริงสามารถตอบสนองความต้องการได้จริง แต่ถ้าข้อมูลมีความคลาดเคลื่อน จะส่งผลให้การตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูล ท่ีคลาดเคล่ือนน้ัน ไม่ตอบสนองต่อความต้องการทางด้านระบบบริการสุขภาพ
ปัจจัยด้านการเมือง สภาพเศรษฐกิจและสังคม สถานการณ์ของโรค ความเจ็บป่วยหรือความผิดปกติของร่างกาย เทคโนโลยี ฯลฯ เช่น วัณโรคในประเทศไทย เชื้อดื้อยา ถ้าไม่พัฒนาเทคโนโลยีให้ทันก็ส่งผลให้เกิดปัญหาได้ เทคโนโลยีบางครั้งมีผลต่อ need และ want พบว่า need และ want มีการเปล่ียนแปลงได้ตามกาลเวลาและสถานการณ์
การแยกคุณภาพ (quality) กับความสะดวกสบาย (convenience) ให้ชัดเจนมีความสาคัญ บ่อยครั้งความสะดวกสบายถูกตีความโดย ผู้รับบริการว่าเป็นคุณภาพ แต่สิ่งนี้มีผลกระทบกับสถานพยาบาล สิ่งเหล่านี้เป็น issue เป็น dilemma ที่ต้องมีการพูดคุยกันตลอดเวลา ผู้ให้บริการ มอง quality ของ health service เป็นหลัก ผู้รับบริการจะมอง hospitality ด้วย กล่าวโดยสรุป การมี behavioral service เป็นส่วนหนึ่งของ ระบบสุขภาพ จัดว่าเป็น quality ด้วย
การเขา้ ถงึ ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ หมายความวา่ เขา้ ถงึ ไดแ้ นน่ อน เวลา สถานที่ บคุ คล หรอื เขา้ ถงึ ไดแ้ นน่ อน แตไ่ มใ่ ชท่ กุ พน้ื ที่ (เชน่ ทกุ จงั หวดั ) หรือ เข้าถึงได้แน่นอน แต่ไม่ใช่ตลอดเวลา สิ่งเหล่านี้ต้องไปแก้ที่ public health education การที่ประเทศกาหนดสถานการณ์เช่นนี้จะแก้ไขอย่างไร การเข้าถึงบริการสุขภาพ หมายถึง การเข้าถึงการดูแลรักษาทั่วไป โดย general practitioner(GP) หรือ family physician หรือการเข้าถึงแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญ (specialist) หรือ การเข้าถึงแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรค / กลุ่มโรค / ความผิดปกติ (superspecialist)
การพิจารณาการวางระบบสุขภาพเพื่อให้ประชาชนหรือผู้เข้ารับบริการเข้าถึงระบบ คือ ให้เกิดสมดุลของปัจจัยด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม สถานการณ์ของโรค ความเจ็บป่วยหรือความผิดปกติของร่างกาย เทคโนโลยี ประเทศไทยยังมีปัญหาที่ไม่ได้นาผู้รับบริการมามีส่วนในการ วางระบบสุขภาพที่เป็นท่ียอมรับ
สัดส่วนของ specialist ต่อ general practitioner ในประเทศต่างๆ ไม่มี pattern ที่แน่นอน สาหรับประเทศไทย เนื่องจากการคมนาคม ดีข้ึน การติดต่อให้คาปรึกษาจาก specialist สามารถทาได้ง่ายขึ้น ทาให้ความต้องการ family physician หรือ general practitioner มากข้ึน ในปัจจุบันในบางพื้นที่
ประเทศที่พัฒนามีแพทย์ (MD) แต่ MD ไม่ใช่ แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (GP) หลายประเทศทาเป็น Attended short course ต่างๆ ท่ีกาหนดไว้ ซึ่งกาหนดโดยองค์กรท่ีหลักสูตรเป็นที่ยอมรับ เก็บเป็น module เม่ือเก็บ modules ครบก็จะได้เป็น GP โดยไม่ต้องเสียเวลาเรียน 3-5 ปี เน่ืองจาก ปัจจุบันหลักสูตรเปลี่ยนเป็น outcome based curriculum โรงพยาบาลทุกแห่งควรมี GP แต่สาหรับแพทย์เฉพาะทาง (specialist) ไม่จาเป็นต้อง มีทุกโรงพยาบาล ขึ้นกับว่ากาหนดระดับการดูแล (level of care) ไว้มากน้อยแค่ไหน specialist ควรมีในโรงพยาบาลท่ัวไปท่ีไม่ไกลมากนัก สาหรับ superspecialist ควรมีท่ีโรงพยาบาลศูนย์ที่เป็น excellent center โดยวิธีการ share resources นี้ทาให้คนไข้สามารถเข้าถึง specialist และ supraspecialist ได้ทุกเครือข่ายโดยผ่านการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการคมนาคม เม่ือไม่ต้องผลิต specialist ทุกโรงพยาบาล ทาให้ ค่าใช้จ่ายลดลง ในขณะเดียวกันคนไข้สามารถเข้าถึงโดยการประสานงานและการคมนาคมที่สะดวกมากขึ้น quality ไม่ลดลงเน่ืองจากโรคที่ซับซ้อน ถูกดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญ นี่คือจุดสมดุล และ ณ จุดนี้สามารถขยายต่อไปถึงเรื่อง Telemedicine ปัจจุบัน telemedicine เสมือนหนึ่งทาให้มี
  36   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)





















































































   34   35   36   37   38