Page 367 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 367
C1-103
19th HA National Forum
ทาอย่างไร ไอ ซี ยู จะเป็นพื้นที่แห่งคุณค่า
1. Accessibility – ผู้ป่วยเข้าถึงบริการได้ง่าย ต้ังแต่การรับเข้ารักษา (Admission), การเคล่ือนย้าย (Transfer) และการส่งต่อ (Refer) ควรเป็นระบบเครือข่าย ท่ีสามารถช่วยเหลือเกื้อกูลกันด้วยบรรยากาศและการส่ือสารที่เป็นมิตร
2. Assessment and care of patients – การประเมินผู้ป่วยถูกต้อง
3. Qualified Intervention – การดูแลผู้ป่วยด้วยเทคนิคและอุปกรณ์ที่ได้มาตราฐาน
4. Medical management and uses – การบริหารและการใช้ยาที่พอเหมาะพอควร
5. Patient and family education – การให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
6. Prevention of complication – การป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การนาหลัก Quality improvement มาใช้ในการจัดพ้ืนที่ให้เหมาะสม และนาข้อมูลผลลัพธ์ท่ีได้มาพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น ใช้ความรู้และ
เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการดูแลผู้ป่วย
เสาวนีย์ เนาวพานิช
พยาบาลผู้ชานาญการพิเศษ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีประสบการณ์ด้านการดูแลผู้ป่วยหนักโรคหัวใจใน CCU (Cardiac Care Unit) ดูแลผู้ป่วยท่ีมีอาการเกี่ยวข้องกับระบบหัวใจและหลอดเลือดในภาวะวิกฤต ให้คาจากัดความของห้องดูแลผู้ป่วยหนัก ICU (Intensive Care Unit) หมายถึงพื้นที่พิเศษที่จัดไว้เพื่อรักษาดูแลอาการผู้ที่ป่วยวิกฤตหรือมีอาการสาหัสเสี่ยงต่อการเสียชีวิตโดยเฉพาะ โดยมีทีมแพทย์และเจ้าหน้าที่ ท่ีเกี่ยวข้องเฝ้าระวังดูแลอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด และคอยบริหารจัดการให้อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆ เช่น เครื่องช่วยหายใจ เครื่องฟอกไตฯ สามารถทางานเพ่ือช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที การจะพัฒนาพ้ืนที่ ไอ ซี ยู ให้มีคุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ต้องมีการพัฒนาคนให้มีศักยภาพ และ พัฒนางานให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีในการดูแลผู้ป่วย ผู้ป่วยปลอดภัยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน อัตราตายลดลง ระยะเวลานอนโรงพยาบาลสั้นลง ลดค่าใช้จ่าย และผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจ
โดยบทบาทของพยาบาลวกิ ฤตตอ้ งดแู ลผปู้ ว่ ยใหร้ อดชวี ติ ผปู้ ว่ ยจะไดร้ บั การดแู ลทางรา่ งกายอยา่ งเตม็ ท่ี ถงึ แมว้ า่ ไมม่ โี อกาสพดู คยุ กบั ผปู้ ว่ ย หรอื ครอบครวั ของผปู้ ว่ ยเนอ่ื งจากผปู้ ว่ ยไมร่ สู้ กึ ตวั และพยาบาลตดิ ภาระหนา้ ทมี่ ากมาย รวมถงึ ความคาดหวงั ของผปู้ ว่ ยและญาตเิ มอื่ เขา้ มารบั การดแู ล ใน ไอ ซี ยู ว่าผู้ป่วยจะต้องปลอดภัย อาการไม่แย่ลง แต่คนไข้ส่วนใหญ่อาการเปลี่ยนแปลงง่ายไม่คงที่ ผลกระทบที่ได้รับคือผู้ป่วยและครอบครัวไม่ได้ รับการส่ือสารข้อมูลเก่ียวกับการเจ็บป่วย การที่ให้ญาติรอเวลาเข้าเยี่ยมผู้ป่วยตามท่ีกาหนดไว้ สาหรับญาติผู้ป่วยจะรู้สึกว่าเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน มาก โดยไม่ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย ผู้ป่วยเผชิญสิ่งแวดล้อมท่ีไม่คุ้นเคย รู้สึกสูญเสียบทบาทต่อครอบครัว ทาให้เกิดความวิตกกังวลไปต่างๆ นาๆ
การให้ข้อมูลแก่ญาติผู้ป่วยและครอบครัวจึงเป็นส่ิงที่สาคัญ สามารถป้องกันการฟ้องร้องหรือความไม่พึงพอใจได้ เจ้าหน้าท่ีควรพูดคุยกับ ญาติด้วยความเป็นมิตร ให้ข้อมูลที่เป็นจริง ให้ข้อมูลสม่าเสมอท้ังในช่วงเวลาท่ีอาการดีข้ึน และอาการแย่ลง ให้ครอบครัวผู้ป่วยได้ร่วมตัดสินใจและ วางแผนในการรักษา กระตุ้น สนับสนุนให้ครอบครัวได้ใกล้ชิดผู้ป่วย มีส่วนร่วมในการให้การดูแลแก่ผู้ป่วย เช่น เช็ดหน้า เช็ดตัว ดูแลการรับประทาน อาหาร พูดคุยให้กาลังใจ จัดสถานที่สาหรับนั่งรอเยี่ยม ยืดหยุ่นเวลาเข้าเยี่ยมเพ่ืออานวยความสะดวกแก่ญาติที่เดินทางมาเยี่ยมหลังเลิกงาน ในผู้ ป่วยวาระสุดท้าย (End of Life) จัดสถานที่เอ้ือต่อการได้อยู่กับผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต ให้ความช่วยเหลือครอบครัว ติดต่อประสานงาน หรือ สอบถามความต้องการอ่ืนๆ
กรณีศึกษาท่ี 2
ผู้ป่วยชายอายุ 50 ปี รับราชการทหาร แพทย์วินิจฉัยโรค Dilated Cardiomyopathy (DCM) การทางานของหัวใจมีประสิทธิภาพเหลือ อยู่ประมาณ 50% รอการทา Heart Transplantation (การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ) มีอาการแย่ลง โอกาสรอดชีวิตน้อยมาก พยาบาลได้ให้ญาติเข้ามา ร่วมดูแลผู้ป่วยในห้อง CCU เปิดเพลงที่ผู้ป่วยชอบให้ฟัง ให้การดูแลผู้ป่วยเป็นอย่างดี ในที่สุดผู้ป่วยอาการดีข้ึนจนได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ อยู่โรง พยาบาลอีก 3 เดือนและสามารถจาหน่ายกลับบ้านได้อย่างปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
จากกรณศี กึ ษานแ้ี สดงใหเ้ หน็ วา่ เมอื่ ใดกต็ ามทไี่ ดใ้ หก้ ารดแู ลผปู้ ว่ ยอยา่ งเตม็ ทอี่ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ดว้ ยคณุ ธรรมในการทา งาน ทา ใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์ ท มี ่ คี ณุ ค า่ ต อ่ จ ติ ใ จ ส ร า้ ง แ ร ง บ นั ด า ล ใ จ ส า ห ร บั ผ ป้ ู ว่ ย แ ล ะ ค ร อ บ ค ร วั ใ ห ต้ อ่ ส ก้ ู บั อ า ก า ร เ จ บ็ ป ว่ ย ท เ่ ี ป น็ อ ย ่ ู แ ล ะ ม ชี วี ติ ต อ่ ไ ป อ ย า่ ง ม คี ณุ ภ า พ ใ ห ไ้ ด ้ ส ร า้ ง ค ณุ ค า่ ในการสื่อสารให้เกิดความเข้าใจ “ผู้ทางานมีความสุข ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี”
367 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)