Page 368 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 368

C1-103
19th HA National Forum
  รศ.นพ.ฉันชาย สิทธิพันธ์
ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่าคุณค่าของ ไอ ซี ยู คือการดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพ (Quality of Life) แม้ว่าจะเป็นวาระสุดท้ายของชีวิตก็ตาม (End of Life) ประเทศไทยมีเตียง ไอ ซี ยู ดูแลผู้ป่วยท่ีอาการหนักเพียง 5% ของเตียงผู้ป่วยท้ัง ประเทศ (7,000 เตียงใน 100,000 เตียง) จาเป็นต้องมีการเพ่ิมจานวนเตียง ไอ ซี ยู เพ่ือให้รับผู้ป่วยได้มากข้ึน ในปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์ กา้ วหนา้ มาก อปุ กรณใ์ นการชว่ ยชวี ติ ทนั สมยั มากขนึ้ ทา ใหค้ นมอี ายยุ นื ยาวมากขนึ้ ทา อยา่ งไรเราจงึ จะใชท้ รพั ยากรทมี่ จี า กดั นใ้ี หไ้ ดป้ ระโยชนม์ ากทสี่ ดุ เพื่อให้มีเตียง ไอ ซี ยู เพียงพอสาหรับรองรับผู้ป่วยหนักที่ต้องการการช่วยชีวิตจริงๆ ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคเร้ือรังท่ีเกินเยียวยา เช่น ผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะ สุดท้าย ผู้ป่วยติดเตียงเรื้อรังท่ีไม่มีภาวะฉุกเฉินแล้ว เป็นต้น วิธีหน่ึงที่จะสามารถช่วยได้ก็คือ การวางแผน Palliative care ให้ดี ระบบ Palliative care ในไอ ซี ยู คือการดูแลผู้ป่วยให้จากไปอย่างสมศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์
เราสามารถเช่ือมโยง Clinical care เข้ากับ Palliative care ใช้กับผู้ป่วยขณะรับการรักษาไปพร้อมกันได้เลย ทีมดูแลผู้ป่วยยังให้การดูแล รกั ษาอยา่ งเตม็ ท่ี แตเ่ ปา้ หมายเปลยี่ นไปจากทา ใหผ้ ปู้ ว่ ยรอดชวี ติ เปน็ การทา ใหผ้ ปู้ ว่ ยอยใู่ นระยะสดุ ทา้ ยของชวี ติ อยา่ งมคี ณุ ภาพมากทส่ี ดุ เปน็ การดแู ล ให้เกิดสมดุลระหว่างร่างกาย จิตใจ เทคโนโลยีและความเชื่อ
ในตา่ งประเทศมกี ารเปดิ โอกาสใหผ้ ปู้ ว่ ยไดม้ สี ทิ ธแิ สดงเจตนารมณ์ เพอื่ วางแผนเกยี่ วกบั การรกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ยของตนในวาระสดุ ทา้ ยของ ชีวิต (Advance care planning) อัตราผู้ป่วย Withdraw LST (ผู้ป่วยที่ขอยุติการยื้อชีวิต) ในต่างประเทศมีมากข้ึนในปัจจุบัน ซึ่งในประเทศไทยเร่ือง น้ียังไม่แพร่หลายนัก เนื่องจากวัฒนธรรมไทยไม่นิยมให้วางแผนหรือพูดถึงเรื่องความตาย เม่ือผู้ป่วยอาการหนักไม่สามารถแสดงความคิดเห็นได้แล้ว ญาตจิ งึ เปน็ ผทู้ ตี่ อ้ งรบั ทราบขอ้ มลู จากแพทยแ์ ละตดั สนิ ใจแทนผปู้ ว่ ย ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจวา่ จะใหย้ อื้ ชวี ติ ของผปู้ ว่ ยตอ่ ไปหรอื ไมท่ สี่ า คญั กค็ อื สทิ ธกิ ารแสดงเจตนารมณใ์ นการรกั ษาของผปู้ ว่ ย พบวา่ ในผปู้ ว่ ยทไ่ี มม่ สี ทิ ธกิ ารแสดงเจตนารมณใ์ นการรกั ษานนั้ ญาตจิ ะพยายามใหย้ อ้ื ชวี ติ ผปู้ ว่ ยตอ่ ไป แมว้ า่ ผปู้ ว่ ยจะมอี าการทกุ ขท์ รมานมากแลว้ กต็ าม และในผปู้ ว่ ยทตี่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยเอง ญาตอิ าจจะตดั สนิ ใจยตุ กิ ารยอื้ ชวี ติ เรว็ กวา่ ทคี่ วร เรอื่ งนแี้ พทย์ ควรให้ข้อมูลแก่ญาติเก่ียวกับอาการเจ็บป่วยและพยากรณ์โรคท่ีค่อนข้างแม่นยา เพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้องและเหมาะสม
โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณม์ กี ารตดิ ตามตวั ชวี้ ดั คณุ ภาพ เรอื่ งอตั ราการไมต่ อ้ งใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจในผปู้ ว่ ยทอ่ี ยใู่ นระยะสดุ ทา้ ย ตดิ ตามตวั ชวี้ ดั ใน กลุ่มผู้ป่วยใน ไอ ซี ยู ที่ไม่ต้องใส่ท่อช่วยหายใจและไม่ป๊ัมหัวใจกรณีที่หยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น แสดงถึงคุณภาพการวางแผนการดูแลผู้ป่วยและ การส่ือสารกับผู้ป่วยและญาติในผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Palliative care) เป็นอย่างดี ไอ ซี ยู ทุกแห่งควรมีการเก็บตัวชี้วัดคุณภาพน้ีเช่นกัน และควรมี การ integrate palliative care เข้ากับ clinical care ให้ได้
การสื่อสารให้ญาติเข้าใจต้องเน้นให้ทราบว่าคาว่า palliative care ไม่ใช่การหยุดให้การรักษา แต่เป็นการให้การรักษาตามอาการเจ็บป่วย ที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ จะช่วยลดความทุกข์ทรมานของผู้ป่วยที่เกิดขึ้นจากการใส่อุปกรณ์ต่างๆ มากเกินไป ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายในบั้นปลายของ ชีวิต มีคุณภาพชีวิตท่ีดี แม้ในวาระท่ีกาลังจะจากไปก็ให้จากไปอย่างสงบ เผชิญความทุกข์ทรมานให้น้อยที่สุด ยกตัวอย่างเช่น ในกลุ่มผู้ป่วยท่ีอาการ ไม่ดี ได้รับการใส่เคร่ืองช่วยหายใจคร้ังที่ 2 ในกลุ่มผู้ป่วยที่ร่างกายล้มเหลวทุกระบบ อยู่ได้เพียงเพราะใส่เคร่ืองช่วยหายใจเท่านั้น ภายในวันท่ี 2-5 ของการเข้าอยู่ในห้อง ไอ ซี ยู
แพทย์ควรจะให้ข้อมูลแก่ญาติ และเร่ิมคุยเร่ืองการยุติการฟ้ืนคืนชีพ ให้ญาติตัดสินใจว่าหากมีอาการเช่นน้ีอีก ในคร้ังหน้าจะให้ทาอย่างไร จะให้ใส่ท่อช่วยหายใจและปั๊มหัวใจอีกหรือไม่ โดยให้เหตุผลถึงความเส่ียงต่อชีวิตผู้ป่วยท่ีเพ่ิมข้ึนทุกครั้งที่ใส่ท่อช่วยใจและปั๊มหัวใจ ทาให้เกิดความ ทุกข์ทรมานและคุณภาพชีวิตลดลง
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   368

























































































   366   367   368   369   370