Page 400 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 400

A2-105-A
19th HA National Forum
 จากข้อมูลของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ พบว่า สถิติการใช้บริการระบบ EMS มีเพ่ิมข้ึนต่อเนื่องทุกปีจาก 1,231,477 คร้ัง ในปี 2557 เป็น 1,488,522 ครั้งในปี 2559 ซ่ึงในจานวนนี้พบว่ามีผู้ป่วยบางส่วนที่ไม่มีความจาเป็นในการใช้บริการระบบEMS คาถามคือ “เราจะทา อย่างไรให้ Fit กับท่ีจาเป็น? เราต้องทาอะไรบ้างกับฝั่งประชาชน? เราต้องทาอะไรบ้างกับผู้รับแจ้งเหตุ?” ในปี 2557 ถึงปี 2559 สถิติผู้ป่วยวิกฤติ ฉุกเฉินเข้าถึง EMS น้อย พบว่า มีเพียง 1 ใน 4 ของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ ที่มาโดย EMS คาถามคือ “อีก 3 ใน 4 มาโรงพยาบาลมาอย่างไร? และ 1 ใน 4 ที่มาโดย EMS กล้าประกาศหรือไม่ว่าได้รับการดูแลท่ีมีคุณภาพที่สมควรตายคือตาย?” และกรณีเมื่อ 3 ใน 4 จะต้องใช้บริการระบบ EMS จานวน บุคลากร ระบบการส่ือสารสั่งการพร้อมที่จะ ให้บริการหรือไม่ คาถามเหล่านี้ต้องร่วมกันหาคาตอบ ซึ่งในการบริหารจัดการเพ่ือการพัฒนาแนะนาให้ ใช้ 6 Building Blocks มาใช้ในการวางแผน จะทาให้ได้แผนปฏิบัติการ 1 ปี, 2 ปี, 3 ปี เป็นลาดับ
ตัวช้ีวัดท่ีมีการปรับเปลี่ยนใหม่ในปี 2561 น่ันคือ อัตราการเสียชีวิตใน 24 ช่ัวโมง ของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน ซึ่งเป็น Composite indicators ทบี่ อกถงึ ระบบบรกิ าร เรมิ่ ตงั้ แตศ่ นู ยส์ ง่ั การ การรบั แจง้ เหตุ ระบบการสง่ ตอ่ ระบบการดแู ลในหอ้ งฉกุ เฉนิ หรอื Indefinite care ของแตล่ ะโรงพยาบาล ประเด็นคือ จานวนผู้มารับบริการในห้องฉุกเฉินของประเทศไทยมากกว่าประเทศต่างๆ และอัตราเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมงของประเทศไทยเท่ากับ 14.7 (ได้จากค่าเฉล่ียการเสียชีวิตของโรงพยาบาลศูนย์ต่างๆ เช่น ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา ฯลฯ) ซึ่งมีจานวนมากกว่าต่างประเทศ และมีจานวน การใช้บริการที่ห้องฉุกเฉินถึง 35 ล้านคร้ัง/ต่อปี ในจานวนน้ีมีผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินมากกว่า 60% จึงจาเป็นต้องมีการบริหารจัดการเพื่อลดความแออัด โรงพยาบาลระยองมกี ารวางระบบการบรหิ ารจดั การหอ้ งฉกุ เฉนิ ทด่ี มี กี ารBenchmarkกบั JohnsHopkinsมกี ารเปลย่ี นแปลงทค่ี วรไปแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
ในระบบ ECS คุณภาพยังขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้และทักษะเฉพาะ จากการประมาณความต้องการใน 10 ปีได้แก่ แพทย์เวชศาสตร์ ฉุกเฉิน (Emergency Physician: EP) 1,420 คน พยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน (EN/ENP) 2,060 คน และนักปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน (Paramedic) 2,405 คน (ข้อมูลตาม Service base และตามฐานประชากร) จึงต้องมีการเพ่ิมการผลิตและมีมาตรการในการธารงรักษาคนในองค์กร “ทําาอย่างไร ไม่ร่ัว มาแล้วไม่ลาออก” การแก้ปัญหาที่แท้จริงต้องร่วมกันโดยแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ 1) แก้ปัญหาท่ีบ้าน คือ โรงพยาบาลจังหวัด 2) กรมการแพทย์ หรือหน่วยงานอ่ืนให้การสนับสนุน 3) ทาข้อเสนอให้กระทรวงสาธารณสุขในการปรับแก้
ในการขบั เคลอื่ นการเปลย่ี นแปลง Key success factor คอื ผนู้ า สงู สดุ ตอ้ งเปน็ ผนู้ า การเปลยี่ นแปลง และจดั สรรทรพั ยากร การเปลย่ี นแปลง นน้ั จงึ จะสา เรจ็ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ ได้ มอบนโยบายให้ ER คณุ ภาพเปน็ หนงึ่ ในนโยบายหลกั ปี 2561 มอบหมายใหแ้ ตล่ ะโรงพยาบาล สง่ มอบขอ้ มลู ER คณุ ภาพมายงั สว่ นกลาง และมกี ารนา ขอ้ มลู ทงั้ ประเทศมาทา การวเิ คราะห์ และแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกนั เพอื่ หาแนวทางการพฒั นา
ผลการดาเนินงานท่ีผ่านมาในปี 2560 คือ
1) โครงการ UCEF เจ็บป่วยฉุกเฉินเข้าได้ทุกที่โดยไม่มีการจากัดสิทธ์ิ
2) การเพิ่มการผลิตบุคลากร EP, EN, ENP และ Paramedic
3) การจัดทาเกณฑ์ ECS คุณภาพ เกณฑ์ที่ใช้วัดคุณภาพห้องฉุกเฉิน
“สิ่งที่เป็นเจตนารมณ์ของคนทาคู่มือ ไม่ต้องการวัดว่าใครเก่ง ใครดีกว่ากัน แต่อยากจะให้ใช้เป็นเคร่ืองมือ ให้กลับมามองเห็นตัวเอง
ว่า เรามีช่องว่างส่วนไหนที่ต้องพัฒนา แล้วดึงคนท่ีมี่ส่วนเกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเข้ามาพัฒนาทั้งระบบ” ในส่วนของคู่มือจะไม่ใช้เรียกว่า มาตรฐาน เพราะมาตรฐานในทางกฎหมายคอื ตอ้ งมตี อ้ งทา ใหไ้ ด้ การทา คมู่ อื จะใชค้ า วา่ Recommendation หรอื Guide line จะทา ใหโ้ รงพยาบาล ต่างๆ ไม่เกิดความรู้สึกว่าถูกบังคับ เน่ืองจากหลายแห่งไม่พร้อมเร่ืองทรัพยากรและไม่พร้อมเร่ืองการบริหารจัดการ
4) พัฒนาทีมปฏิบัติการฉุกเฉินและสาธารณภัย
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   400





















































































   398   399   400   401   402