Page 417 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 417
A3-105-B
19th HA National Forum
ปี 2561 สถานการณโ์ รคตดิ ตอ่ ในประเทศไทย พบวา่ โรคไขเ้ ลอื ดออกเพมิ่ จา นวนสงู มากในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ มกี ารระบาดเพมิ่ มากขน้ึ กวา่ ปที ี่ ผ่านมาซึ่งไข้เลือดออกพบได้ทุกกลุ่มอายุ กลุ่มผู้เสียชีวิตมักพบในผู้ป่วย อ้วน ล้ินหัวใจรั่ว ความดันโลหิตสูง ทาลัสซีเมีย ดังน้ันเมื่อพบผู้ป่วยที่มีอาการ ไข้สูงลอย จึงต้องมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ในส่วนของโรค Chikungunya ยังคงพบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น นราธิวาส ซึ่งผู้ป่วยจะมาด้วยอาการไข้ ออกผื่น ปวดข้อ โรค SARS ปัจจุบันเงียบสงบไปแล้วแต่ก็อาจจะกลับมาอีกได้ โรคไข้หวัดนกในสัตว์ได้แก่ H5N1, H5N6, H7N3 พบระบาดในประเทศเพื่อนบ้าน คือ ลาว เขมร พม่า กัมพูชา เวียดนาม ดังน้ันถ้าผู้ป่วยมาด้วยอาการไข้สูงและมีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจต้องเฝ้าระวังเพราะโรคนี้ติดต่อจากคนสู่คนได้ ไข้ หวัดนกในจีนพบสายพันธ์ุ H7N9
โรคไข้หวัดใหญ่ยังคงเป็นปัญหาระบาดในประเทศไทย ต่อมาคือโรค Middle East Respiratory Syndrome (MERS) ซึ่งผู้ป่วยที่มาด้วย ระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ หอบ เราไม่สามารถแยกได้ว่าเป็นไข้หวัดใหญ่หรือเป็น MERS พาหะนาโรคคืออูฐโดยน้าลาย และแพร่จากคนสู่คน ได้ จังหวัดท่ีมีความเสี่ยง คือ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา สตูล จากการท่ีคนไทยเดินทางไปประกอบพิธีทางศาสนาที่ประเทศซาอุดิอาระเบีย โรคระบาดที่พบว่าเป็นอันตรายในปัจจุบัน คือ โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies) ข้อมูลจากกรมปศุสัตว์พบว่า สาเหตุที่ทาให้โรคพิษสุนัขบ้าระบาด คือ ปัญหา ของวัคซีนที่ฉีดในสัตว์ ซ่ึงจะมีการจัดทาแนวทางในการให้วัคซีนต่อไป
โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ได้แก่ คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก มีการรายงานข้อมูลจากวันที่ 4 มีนาคม 2561 พบว่าพื้นที่ ที่มีการระบาดของ โรคไอกรน โดยเฉพาะในเด็กเล็กท่ีอายุต่ากว่า 2 เดือน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ 3 ราย, พระนครศรีอยุธยา 1 ราย, มหาสารคาม 1 ราย, ปัตตานี 1 ราย การระบาดของไอกรน ช่วงแรกพบในผู้ป่วยต่างด้าว ปัจจุบันพบในกลุ่มผู้ป่วยต่ากว่า 2 เดือน (วัคซีนไอกรนท่ีให้ปัจจุบัน ให้เมื่ออายุ 2 เดือน 4 เดือน และ6 เดือน) ดังนั้นเมื่อพบเด็กอายูต่ากว่า 2 เดือน ให้เฝ้าระวังและป้องกันให้ดี
เช้ือดื้อยายังคงเป็นปัญหาไม่ว่าจะเป็นด้านสุขภาพหรือด้านค่าใช้จ่าย ปัจจุบันเชื้อดื้อยาที่พบมากที่สุดได้แก่ Acinetobac baumannii (A. baumannii) รองลงมา คือ Pseudomonas aeruginosa บทบาทของบุคลากรทางการแพทย์ในการจัดการโรคติดต่อ 1) วินิจฉัย ค้นหา รวดเร็ว 2) รักษาช่วยชีวิต ลดความรุนแรง ลดความพิการ 3) ป้องกันควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล 4) รายงาน เฝ้าระวังโรค ร่วมมือสอบสวน ควบคุมโรค 5) ให้สุขศึกษาและให้วัคซีน
ความปลอดภยั ในการทา งานของบคุ ลากร คอื ความจา เปน็ พนื้ ฐานในการจดั การดแู ลโรคตดิ ตอ่ ไดแ้ ก่ 1) Proper cautionary practice เชน่ การใส่ N-95 ต้องใส่ให้ถูกวิธี ระยะเวลาที่ใช้ในการใส่ ถ้าใส่ด้วยวิธีที่ถูกต้องจะอยู่ได้ไม่เกิน 30 นาที กรณีใส่แล้วอยู่ได้นานกว่า 30 นาที แสดงว่าการ ใส่นั้นไม่มีประสิทธิภาพ หรือกรณีใส่แล้วตรวจผู้ป่วยได้ทั้งวัน แสดงว่าใส่ผิดไม่ปลอดภัย เปล่ียนมาใส่ Surgical Mask ปลอดภัยกว่า 2) Infection control in hospital 3) Immunization ควรได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ และวัคซีนป้องกันคอตีบ
Teamwork ในการทางาน นั่นคือโรคติดต่อต้องจัดการอย่างครบวงจรโดยความร่วมมือของบุคลากรสหสาขาวิชาชีพ ต้องให้ความสนใจ รับรู้ เรียนรู้ซึ่งกันและกัน ร่วมมือ ช่วยเหลือ เอื้อเฟ้ือ ต้องให้ความสนใจ ชื่นชม เข้าใจให้อภัยกัน
มีการจัดการความรู้ระหว่างการทางานให้แก่ 1) Update ความรู้อยู่แนวหน้าไม่ล้าหลังใคร 2) บันทึก รวบรวม วิเคราะห์รายงาน (ผลงาน วิชาการ) 3) แลกเปลี่ยน ชี้แนะ สอน (เป็นพ่ีเลี้ยงเป็นครู)
กลวิธีหลักป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
1) การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน (Immunization )
2) สุขาภิบาล (Sanitation F/W/HH
3) อนามัยบุคคล ( Personal Hygiene )
4) ควบคุม การติดเช้ือในโรงพยาบาล (Hospital IC) 5) ควบคุมพาหะนาโรค (Vector Control)
การป้องกันการติดเชื้อนอกจากมีการป้องกันที่ Scene care แล้ว ยังต้องมีการป้องกันในหน่วยงาน การสวม N95 การรับวัคซีนป้องกัน Diphtheria Pertussis ต้องติดตามสถานการณ์โรคระบาด เคยมีการรายงานหลายหลายคร้ังว่าโรงพยาบาลเป็นแหล่งเพาะเชื้อไข้เลือดออก เช่น ช่วง ปิดเทอมนาบุตรหลาน มาเล่นที่โรงพยาบาล และเกิดการติดเช้ือไข้เลือดออก ดังนั้นในฐานะท่ีเป็นบุคลากรทางการแพทย์ 1) ป้องกันตนเอง 2) Early diagnosis 3) Early treatment ซึ่งการปฏิบัติหน้าท่ี บุคลากรผู้ให้บริการและผู้รับบริการต้องปลอดภัยจากการติดเชื้อ ถ้า “เรารักษาคนไข้รอดแต่ ตัวเราติดเช้ือไม่ใช่ ER คุณภาพ”
417 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)