Page 416 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 416

A3-105-B
19th HA National Forum
 ณ วนั นย้ี งั ไมท่ ราบจา นวน พยาบาลวชิ าชพี ทห่ี อ้ งฉกุ เฉนิ แตล่ ะแหง่ ควรจะมี กลบั ไปท่ี Value based ในโรงพยาบาลแตล่ ะแหง่ อาจไมจ่ า เปน็ ต้องมีพยาบาลวิชาชีพเท่ากัน การคิด FTE พยาบาล การคิดเป้าหมายอัตรากาลังขึ้นกับการแยกประเภทผู้ป่วย ซึ่ง 5 เดือนที่แล้ว แต่ละโรงพยาบาล แยกผปู้ ว่ ยไมเ่ หมอื นกนั วนั นกี้ รมการแพทยจ์ งึ ผลติ หนงั สอื MOPH ED triage วธิ คี ดิ อตั รากา ลงั ตอ้ งคดิ ตามงาน Load & Function พยาบาลกบั แพทย์ แผนกอ่ืนพบกันสองเวลาคือตอนเช้าและตอนบ่าย ช่วง Round เช้าและ Round บ่าย แต่ที่ แผนกER & วิสัญญี จะทางานคู่กันตลอด ทาอย่างไรให้ เกิดการทางานสหวิชาชีพแบบครอบครัวเพื่อการพัฒนาคุณภาพที่ดี
ER Safety goal ปีน้ี มี 5 ประเด็น กับอีก 2 เรื่อง เจ้าหน้าที่ Triage อย่างไรให้ถูก เป้าหมายคือ ไม่ตายขณะรอตรวจ Triage over เหนื่อย เยอะ Triage under เสี่ยง อะไรคือ Triage พอดี ซึ่งจะเกิดขึ้นได้บุคลากรต้อง ได้รับการ Training กรณี Diagnosis ถูกแต่รักษาผิด แล้ว Diagnosis ผิดแต่รักษาถูกมีหรือไม่ Diagnosis เป็น Problem based ซึ่ง Definition diagnosis จะไม่เกิด ถ้าไม่ผ่าน Primary survey and adjuncts ไม่ต้องรู้การวินิจฉัยได้ ผู้ป่วยไม่ตาย ในด้านการสื่อสาร สื่อสารอย่างสงบเพื่อลดประเด็นปัญหา เจ้าหน้าที่ไม่ต้องปะทะกับญาติ สื่อสารให้รู้ว่าผู้ป่วย รออะไร ให้รู้ว่ามี Movement ในระบบ นอนรออะไร รวมถึงการทา Inform consent ต่างๆ การเตรียมพร้อมรับเหตุการณ์ ยกตัวอย่าง Ammonia ร่ัวตอนตีสอง ไฟไหม้ลานเก็บยางที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์อย่างเหมาะสม การจัดพื้นที่ Decontamination Area ทุกจังหวัดควรมีการเตรียมความพร้อมเมื่อเกิดภัยต่างๆ แต่การจัดเตรียมไม่จาเป็นต้องเตรียมเหมือนกัน ควรจัดเตรียมตามสถานการณ์ ท่ีเกิดขึ้นแต่ละจังหวัด
พญ.นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ
ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงโรคท่ีเกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติที่อยู่หน้างาน ER ซ่ึงในปัจจุบันมีโรคติดต่อมากมาย ผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการแต่ละราย ไม่มีคน ใดทแี่ ขวนปา้ ยมาวา่ ตวั เองปว่ ยเปน็ โรคอะไร ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจงึ ตอ้ งมคี วามระมดั ระวงั ปอ้ งกนั เปน็ อยา่ งดี ในทางระบาดวทิ ยาโรคทเี่ กดิ ขนึ้ มอี งคป์ ระกอบ หลัก 3 ประการ คือ 1) Agent (ตัวก่อโรค) 2) Host (ส่ิงมีชีวิต) 3) Environment ( ส่ิงแวดล้อม) ซ่ึงมีเชื้อโรคหลากหลายได้แก่ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา ฯลฯ พาหะนาโรคได้แก่ไก่ ยุง แมลง เป็นต้น ซึ่งการเกิดโรคแบ่งเป็น 1) โรคอุบัติซ้าหมายถึงโรคท่ีเกิดขึ้นมาแล้วและมีการระบาดใหม่ เช่น โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies) มาลาเรีย ไข้เลือดออก วัณโรค ซึ่งวัณโรคเป็นปัญหาใหญ่ท่ีพบขณะน้ี และท่ีพบได้บ่อยในห้องฉุกเฉิน คือวัณโรคเชื้อดื้อยา
(MDRT) 2) โรคอุบัติใหม่หมายถึงโรคที่เกิดขึ้นใหม่ๆ เช่นไข้หวัดนก SARS ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานจึงต้องระมัดระวังไม่นาโรคมาติดตัวเองและ ไม่นาเชื้อไปสู่ครอบครัว
โรคติดต่อแบ่งเป็น 1) โรคติดต่อที่นาโดยแมลง 2) โรคติดต่อระบบหายใจ 3) โรคติดต่อระหว่างสัตว์ 4) โรคติดต่อทางอาหารน้า ปัจจุบันไทยเป็น Medical service hub โรคเหล่าน้ีจึงเดินทางโดยเคร่ืองบิน จาเป็นต้องมีการระมัดระวังป้องกันและเฝ้าระวัง
  สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 416
 

























































































   414   415   416   417   418