Page 420 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 420

B2-105
19th HA National Forum
  ผศ.ดร.นพ.กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์
ตามกรอบแนวคิดขององค์การอนามัยโลก WHO: conceptual framework for the international classification for patient safety เมื่อเกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงข้ึน จาเป็นต้องคานึงถึงผลลัพธ์ที่เกิดข้ึนว่ากระทบกับผู้ป่วยและ/หรือกระทบต่อองค์กรอย่างไร อีกทั้งปัจจัยใดที่จะช่วย บรรเทาและลดความเสยี่ ง/ความรนุ แรงทเ่ี กดิ ขนึ้ ได้ และนยิ าม “ผปู้ ว่ ย (patient)” คอื ผมู้ ารบั บรกิ ารระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ซงึ่ แยกสว่ นกนั ระหวา่ งผรู้ บั บริการ (ผู้ป่วย) และผู้ให้บริการ หากผู้ให้บริการอยากจะพัฒนาคุณภาพก็มุ่งม่ันพัฒนาไป ส่วนผู้ป่วยท่ีเข้ามาน้ันก็อยากได้รับบริการท่ีดี แต่ในความ เป็นจริงแล้วผู้รับบริการไม่สามารถแยกส่วนออกไปจากผู้ให้บริการได้ เช่น การจ่ายยาผิด ถ้าคิดแบบแยกส่วน เราก็ต้องมานั่งดับเบิลเช็คยากัน แต่ถ้า เรา empowerment ผู้ป่วยให้ทราบว่ายาตัวเองคืออะไร การรับยาผิดก็จะลดลง เป็นต้น เราจึงไม่ควรแบ่งแยกและมองผู้ป่วยเป็นเพียงลูกค้าเท่าน้ัน ผู้ป่วยและผู้รับบริการรวมถึงระบบล้วนแต่มีปฏิสัมพันธ์กันท้ังส้ิน
Medical Tourism (การท่องเท่ียวเชิงการแพทย์) สาหรับโรงพยาบาลบารุงราษฎร์น้ันมีปัจจัยพ้ืนฐานท่ีเก่ียวข้องกับผู้ป่วย ตั้งแต่ก่อนเดิน ทางมาถึง เมื่อเดินทางมาถึง และระหว่างเข้าพัก ก่อนเดินทางมาถึงผู้ป่วยมักคาดหวังและมีเป้าหมายในใจ ศึกษาข้อมูลมาอย่างดีว่าเราเป็นอย่างไรให้ บรกิ ารอะไรบา้ งและมศี กั ยภาพมากแคไ่ หน รวมถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษา เมอื่ มาถงึ โรงพยาบาลกจ็ ะไมค่ อ่ ยสนใจเรอ่ื งคา่ ใชจ้ า่ ยมากนกั เนอ่ื งจากทราบ ข้อมูลแล้ว เค้าจะไม่สนใจว่าเรารู้มากน้อยแค่ไหน แต่จะสนใจว่าเราห่วงใยผู้ป่วยมากเพียงใด และขณะผู้ป่วยเร่ิมรักษาไปแล้ว ผู้ป่วยเป็นผู้รับบริการ ก็ไม่ทราบว่าอะไรปลอดภัยหรือไม่ปลอดภัย ผู้ป่วยมีความรู้ไม่เท่าเรา เช่น ผู้ป่วยต่างชาติวีซ่าขาดแล้วเดินมาบอกพยาบาลที่วอร์ดให้ช่วยต่อวีซ่าให้ ในขณะท่ีพยาบาลกาลังยุ่งกับการเตรียมยา ซึ่งมีผลต่อความปลอดภัย (safety) ด้วยแต่ผู้ป่วยไม่ทราบ เรียกว่า Gap of Knowledge
ในหลายครั้งก็มีความไม่แน่นอนหลายอย่างเกิดขึ้น เช่น
• บริบทที่แตกต่างกันมีผลต่อความคาดหวัง เช่น ผู้ป่วยกัมพูชากลุ่มที่มารพ.จุฬาฯ ก็มีความคาดหวังต่างจากผู้ป่วยกัมพูชาท่ีมารักษาท่ี
รพ.บารุงราษฎร์ฯ ทาให้เราควรต้องคานึงถึงความคาดหวังของผู้ป่วยไว้ล่วงหน้า (context-driven expectation)
• ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วย ซ่ึงมักพูดคุยกันเอง (interaction among patients)
• ประเด็นที่ไม่ค่อยใช้หลักทางวิทยาศาสตร์หรือข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจ (unempirical)
• การตอ้ นรบั ขบั สู้ (hospitality) วสิ ยั ทศั นท์ ไี่ มช่ ดั เจน ภาระงานทมี่ าก ภาระงานเอกสาร คา ตา หนิ และกบั ดกั ทางเครอื่ งมอื ตา่ งๆ สง่ิ เหลา่ นี้
ล้วนมีผลต่อความปลอดภัยทั้งส้ิน
Ethnic variation of colonic polyp & cancer เป็นตัวอย่างงานวิจัยทางคลินิกที่ศึกษาความแตกต่างของติ่งเน้ือในลาไส้ใหญ่ในต่างชาติ
โดยสุ่มผลการส่องกล้อง (n=1300) อายุเฉลี่ยประมาณ 60 ปี ผู้ชาย 57.62% เช้ือชาติคร่ึงหน่ึงเป็น Asian, 1/4 เป็น Caucasian, 1/5 เป็น Middle Eastern พบต่ิงเน้ือ 940 เม็ด (452 คน) ข้อมูลในปี 2007-2011 เม่ือนามาเปรียบเทียบตามเช้ือชาติ พบว่ากลุ่มAsian พบติ่งเน้ือมากสุด เป็นการ ประยุกต์ข้อมูลทางคลินิกมาเป็นจุดแข็งในการศึกษาและนามาใช้ประโยชน์
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   420




















































































   418   419   420   421   422