Page 422 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 422

B2-105
19th HA National Forum
 Arrival-occupancy (เมื่อเดินทางมาถึงประเทศไทย) :
• MT patient tracking & Identification เปน็ การระบกุ ลมุ่ ไหนทจี่ ะเขา้ มารบั บรกิ าร มกี ารตอ้ นรบั ตง้ั แตส่ นามบนิ (seamless care from door-door) รวมถึงการแต่งกายที่เหมาะสมกับวัฒนธรรม
• เมอ่ื มาถงึ โรงพยาบาล ในกรณที ตี่ อ้ งใชล้ า่ มภาษา ไดจ้ ดั เตรยี มลา่ มภาษามากกวา่ 20 ภาษา สว่ นภาษาทพี่ บนอ้ ย เชน่ ฮบี รู ตอ้ งตดิ ตอ่ สถาน ฑูตในการแปลภาษา นอกจากน้ีส่วน Customer Service จะดูแลความต้องการตามวัฒนธรรมของชาตินั้นๆ ด้วยเสมือนญาติ (patient advocacy)
• Financial transection เป็นการบริการทางการเงินอย่างต่อเน่ือง
• การบริการด้านอาหาร (meal service) ในแต่ละเชื้อชาติ เช่น อาหารญี่ปุ่น หรือ อาหารฮาลาล ในบางครั้งหากเดินทางมาถึงประเทศไทย
เช่นภูเก็ต จะมีการส่งเฮลิคอปเตอร์ไปรับ transfer ที่สนามบิน หรือกรณีเคสเร่งด่วน (emergency evacuation)
Discharge-Departure (กรณีที่รับการรักษาและสามารถเดินทางกลับได้เลย) :
• แพทย์ให้ความเห็นว่าผู้ป่วยสามารถบินกลับประเทศได้ (fit to travel medical certificate)
• การให้ข้อมูลการรักษาหลังการจาหน่าย (patient Information) รวมถึงมาตรฐานการควบคุมการติดเช้ือ
• Continued Occupancy (กรณีที่ไม่สามารถบินกลับประเทศได้ พักต่อที่โรงแรม)
• การจองและจัดเตรียมโรงแรมที่มีมาตรฐานและความปลอดภัยและใกล้กับโรงพยาบาลก่อนที่จะนัดพบแพทย์เพื่อติดตามอาการ และ
เตรียมบินกลับประเทศ
ความท้าทายสาหรับ Medial Travel Program
1. ความเช่ือและวัฒนธรรมที่โดดเด่น เช่น ผู้ป่วยท่ีต้องการทาละหมาดภายหลังการผ่าตัด TKR ผู้ป่วยญ่ีปุ่นชอบความเป็นส่วนตัวต้องจัด สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม และผู้ป่วยพม่ามีความเรียบร้อยต้องการคนที่มีมารยาทสุภาพ
2. Law and regulation: consent/ medication
• ผู้ป่วยอารบิก การลงนามในconsent หรือการตัดสินใจอยู่ที่ผู้ชาย/สามี และมีบทบาทมาก
• ยาท่ีได้รับภายหลังการรักษา เช่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) มีข้อกาหนดท่ีชัดเจนจะมีกลุ่มยาท่ีสามารถนาเข้าประเทศได้ กลุ่มไหน
จานวนเท่าไร บางชนิดเช่นยาเสพติดกลุ่มnarcotic หรือยาเสพติดร้ายแรงที่มีความจาเป็นในการรักษาต้องมีการขออนุญาตการนาเข้า
จาก ตม.ประเทศนั้นก่อน
3. Language Barrier: จะต้องมีการประสานกับสถานทูตให้ทันเวลา (8.00-16.00น.) เพื่อช่วยสื่อสารกับผู้ป่วย ในกรณีท่ีเป็นภาษาที่พบ
ไม่บ่อย อาจเกิดความเส่ียงในการรักษา ไม่เกิดความเข้าใจในการให้คาแนะนา แผนการรักษา หรือกรณีฉุกเฉินที่ต้องได้รับความยินยอมตัดสินใจเร่ง ด่วนในการรักษา
4. Continuity of care ได้นามาตรฐาน Global Healthcare Accreditation (GHA) มาใช้ซึ่งเน้นกลุ่มmedical tourismโดยเฉพาะ มกี ารมงุ่ เนน้ การสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ตง้ั แต่ primary practitioners มายงั โรงพยาบาล และเมอ่ื จา หนา่ ยกลบั กต็ อ้ งมกี ารสง่ ตอ่ ขอ้ มลู กลบั ไปทโี่ รงพยาบาลเดมิ และหากต้องมีการพักฟ้ืนต่อที่โรงพยาบาลหรือไปยัง Rehabilitation Center ซึ่งเป็นความท้าทายในการสื่อสารในเรื่องนี้
5. Facilities at hotel: อาจไม่ใช่เพียงความกว้างขวาง ความหรูหราสะดวกสบายเท่าน้ัน แต่ต้องมีความปลอดภัยสาหรับผู้ป่วย สามารถ รองรับ wheelchair ได้ มี commode wheelchair พนักงานต้องผ่านการฝึกอบรม CPR และ กรณีหลังผ่าตัด TKR (total knee replacement) เตียงต้องมีความสูงพอเหมาะในการลุกน่ังหรือทากิจกรรมต่างๆ ที่เหมาะสมภายในห้องพัก ยังเป็นความท้าทายในระดับประเทศเช่นกัน
Travel & Tourism มุมมองด้านบริการ ต้อง รู้จักอยู่ กิน และเท่ียว ให้โปร่งใสชัดเจน โดยเลือกช่องทางเว็บไซด์ของโรงพยาบาล (www.bumrungrad.com/medical-travel-guides) ในการให้ข้อมูลผู้ป่วยและครอบครัวก่อนที่จะตัดสินใจเข้าใช้บริการ ซึ่งข้อมูลจะต้องถูกต้อง เป็นปัจจุบัน มีการอัพเดตทุกสัปดาห์ มีความโปร่งใสของข้อมูลโดยเฉพาะอย่างย่ิงเร่ืองค่าใช้จ่าย
ในด้านความเป็นอยู่ เม่ือต่างชาติเข้ามาแล้วต้องอยู่ให้ถูกต้อง คือหากผู้ป่วยจาเป็นต้องอยู่ต่อในประเทศไทยจะต้องมีการต่อวีซ่า ซึ่งเป็น กระบวนการหนึ่งที่ให้บริการ โดยจะต้องมีใบรับรองแพทย์ว่าเจ็บป่วยจริง ติดต่อกับสานักงานตรวจคนเข้าเมือง หากมีญาติต้องอยู่ดูแลจะมีได้เพียง 1 ท่าน โดยการติดต่อสถานทูตเพ่ือออกจดหมายรับรองการเป็นญาติ และนาไปแสดงต่อสานักงานตรวจคนเข้าเมือง
งานบริการของโรงพยาบาลบารุงราษฎร์ ให้การดูแลผู้ป่วยกลุ่มต่างชาติมาเป็นเวลานาน ผู้บริหารให้นโยบายในการทางานว่า “ทางาน อย่างไรให้ดีขึ้นกว่าเดิม (Do Better) ทาให้เกิดการพัฒนาที่หยุดนิ่งไม่ได้” ยกตัวอย่าง เช่น
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   422






































































   420   421   422   423   424