Page 423 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 423

B2-105
19th HA National Forum
 • วีซ่า : มีการสร้างคุณค่าของเวลาให้กับผู้ป่วย โดยผู้ป่วยไม่ต้องหารถเดินทางมาท่ีสา นักงานตรวจคนเข้าเมืองแจ้งวัฒนะ เราจัดเตรียม รถรบั สง่ ใหบ้ รกิ าร แตย่ งั ดไี มพ่ อ เมอื่ พจิ ารณาโดยยดึ ประเดน็ คณุ คา่ ของเวลา ซง่ึ ผปู้ ว่ ยเสยี เวลาเดนิ ทางมาเขา้ ควิ สภาพแวดลอ้ มอนื่ ๆ และสภาพอาการ ของผู้ป่วย ต่อมาจึงได้รับความอนุเคราะห์จากสานักงานตรวจคนเข้าเมืองเกิดเป็น Service Mobile ท่ีช่วยให้บริการทุกวันเสาร์ในพื้นที่โรงพยาบาล เปน็ ประโยชนต์ อ่ เราและผปู้ ว่ ย แตย่ งั ดไี มพ่ อ จงึ มกี ารขยายใหบ้ รกิ ารใหก้ บั คนตา่ งชาตทิ เ่ี ปน็ นกั ทอ่ งเทยี่ วทวั่ ไปทไี่ มจ่ า เปน็ ตอ้ งเจบ็ ปว่ ย เปดิ เปน็ สาขา ย่อยของสานักงานตรวจคนเข้าเมือง (สตม.)
• การจดั เตรยี มโรงแรม : ขอ้ มลู จะแสดงอยใู่ นเวบ็ ไซด์ ความคดิ ทวี่ า่ โรงแรมอยใู่ กล้ มคี วามปลอดภยั มที างหนไี ฟ ราคาพอประมาณตามงบ ประมาณเพียงเท่าน้ีก็ยังดีไม่พอ ต่อมาเรามีโรงแรมที่เป็นพันธมิตร 57 โรงแรม เว็บไซด์จะแสดงโรงแรมที่อยู่ใกล้ บอกระดับดาว บอกระยะทาง มีภาพ แสดงสงิ่ อา นวยความสะดวก และราคา สงิ่ เหลา่ นก้ี ย็ งั ดไี มพ่ อ ปจั จบุ นั โรงแรมในเครอื พนั ธมติ ร จะมชี อ่ งทางตดิ ตอ่ กลบั มายงั โรงพยาบาลในกรณฉี กุ เฉนิ 24 ชั่วโมง บุคลากรของโรงแรมต้องมีความรู้และทักษะที่จะช่วยอานวยความสะดวกและช่วยผู้ป่วยได้ ไม่ว่าจะเป็นความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาล ข้ันต้น การควบคุมการติดเชื้อ (IC) จนกระทั่งการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) นอกจากนี้ในส่วนของโรงแรมก็มีการพัฒนาพ้ืนที่ใช้สอยให้มีความเหมาะสม กับการเข้าพักของผู้ป่วย เช่น ภายในมีห้องน้ากว้างขวาง มีท่ีจับยึดป้องกันการหกล้ม มีรถเข็น โถงทางเดินที่มีความกว้างพอ ซ่ึงเป็นกระบวนการท่ี สามารถแชร์องค์ความรู้ให้กับองค์กรท่ีไม่ใช่สถานพยาบาลได้
• การทอ่ งเทยี่ ว : เปน็ กจิ กรรมทผี่ ปู้ ว่ ยมอี สิ ระในการตดั สนิ ใจ มหี ลากหลายรปู แบบใหเ้ ลอื ก โดยทมี คยุ กบั แพทยก์ อ่ น เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู ประกอบ เพอ่ื ชว่ ยกอ่ นการตดั สนิ ใจ เชน่ เอกสารแนะนา ขอ้ จา กดั ขอ้ พงึ ระวงั ในการทา กจิ กรรม รปู แบบกจิ กรรมทแ่ี นะนา เชน่ การเดนิ การใชร้ ถ การระมดั ระวงั การรับประทานอาหาร การใช้อุปกรณ์เคร่ืองช่วยเช่น walker รถเข็น การหลีกเล่ียงการนั่งนานๆ เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ยังดีไม่พอ เราต้องคอยเรียนรู้ จากประสบการณ์ของผู้ป่วยมากขึ้นเรื่อยๆ และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นไป จนมีความโดดเด่นและแตกต่าง
ในส่วนของบุคลกรที่ต้องร่วมดูแลผู้ป่วยต่างชาติจาเป็นต้องได้รับการฝึกอบรม (mandatory training) มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้วัฒนธรรม ท่ีแตกต่างกันกับล่ามภาษา มีวอร์ดเฉพาะท่ีให้การดูแลผู้ป่วยอารบิก มีล่ามภาษาอารบิกประจาวอร์ด ในกรณีที่ต้องการความช่วยเหลือ ล่ามภาษา สามารถเข้ามาให้บริการได้ทันที หรือพยาบาลที่วอร์ดก็เรียนรู้วัฒนธรรมของ ผู้ป่วยอารบิกโดยเฉพาะ ในการดูแลผู้ป่วยต่างวัฒนธรรม ก็ต้องคานึง ถึงศาสนา หรือกิจกรรมพิเศษตามเทศกาลต่างๆ ในแต่ละชาติ โดยคิดให้ครอบคลุมและไม่เลือกปฏิบัติ เช่น วันประจาชาติ วันตรุษจีน วันคริสมาสต์ วันเข้าพรรษา เป็นต้น
รัตนพร ทามี
ตัวอย่าง การนาข้อมูลงานวิจัยมาสนับสนุนงานบริการ ในเรื่อง Fall ปัญหาเรื่อง Fall เป็นปัญหาที่หลายองค์กรต้องเผชิญอยู่ ผู้ป่วยทุกคน มีโอกาสเกิดได้แม้ว่าเราจะป้องกันไว้เป็นอย่างดี แต่เราสามารถช่วยป้องกันการบาดเจ็บจากการเกิด fallได้ โรงพยาบาลได้พัฒนาโปรแกรมป้องกัน การพลัดตกหกล้ม (Fall Prevention Program) ในหลายมิติ ซึ่งกระบวนการนี้ประกอบด้วย 1. Assessment/Screening 2. Intervention 3. Communication 4. Environment/Equipment วนรอบไปเป็นลาดับ เร่ิมต้ังแต่ Fall Risk Assessment โดยใช้เคร่ืองมือที่น่าเช่ือถือ แม่นยา และเทยี่ งตรง เมอื่ ประเมนิ แลว้ จะไดก้ ลมุ่ ระดบั ความเสย่ี งตา่ ถงึ สงู จะมแี นวทางการปฏบิ ตั ใิ หเ้ หมาะสมกบั ผปู้ ว่ ยแตล่ ะกลมุ่ โดยมงุ่ เนน้ เรอื่ งการสอื่ สาร ท้ังกับ Staff และผู้ป่วย/ญาติ รวมถึงการเตรียมส่ิงแวดล้อมเพ่ือป้องกันการเกิด fall ส่ิงที่สาคัญในกรอบแนวคิดใน Fall Prevention Program คือ เน้นผู้ป่วยและญาติต้องมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ เป้าหมายของการทา Fall Prevention Program คือการลด Harm from Falls ท่ีเกิดข้ึนให้ได้มาก ที่สุด สิ่งที่ท้าทายคือผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษามีบริบทที่แตกต่างกันไป ท้ังหลายเชื้อชาติ หลายภาษา ดังนั้นการพัฒนาในบริบทของผู้ป่วยที่แตกต่าง กัน จะสามารถพัฒนาคุณภาพตามหลัก 3P PDSA ได้อย่างไร
จากการทบทวนผู้ป่วยท่ีเกิด Fall ในปี 2016 พบว่ามากกว่า 50% เป็นผู้ป่วยต่างชาติ ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยอารบิก ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมี วัฒนธรรมและการปฏิบัติตัวท่ีค่อนข้างแตกต่างและมีความเฉพาะ ท่ีสาคัญหลังจากนามาวิเคราะห์พบว่า 25% ยังมีปัญหาในการทา assessment (การประเมินผู้ป่วย) จึงเป็นที่มาของการพัฒนา assessment เม่ือผู้ป่วยเข้ามารับบริการ เราจะประเมินว่ามีความเสี่ยงอยู่ในระดับใด ในการศึกษา คร้ังน้ี ศึกษากลุ่มผู้ป่วย IPD โดยนาเครื่องมือการประเมินที่มีนิยมใช้และเผยแพร่นั้นมาทบทวนว่า scoring ที่ใช้ในการประเมินน้ันเป็นอย่างไร ดึงพารามิเตอร์ออกมา ซึ่งพบว่ามุ่งเน้นในส่วนทางคลินิก (clinical part) เช่น อาการมึนงง มีปัญหาการเดิน ได้รับยาร่วมกันหรือไม่ จึงเกิดคาถามว่า แบบประเมินท่ีใช้อยู่ในโรงพยาบาลนั้นเหมาะสมหรือยังสาหรับผู้ป่วยที่มาใช้บริการ ทีมจึงช่วยกันทบทวนปัจจัยท่ีนอกเหนือจากทางคลินิก (ปัจจัยท่ี เกี่ยวกับผู้ป่วย) แล้วดึงปัจจัยเหล่านี้มาศึกษาในรูปแบบการวิจัย case-control study ข้อมูลที่รายงานผ่าน electronic medical record (EMR)
 423   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

























































































   421   422   423   424   425