Page 421 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 421

B2-105
19th HA National Forum
 ค ว า ม ค า ด ห ว งั ใ น ก า ร ร กั ษ า ม ะ เ ร ง็ ต อ่ ม ล กู ห ม า ก ร ะ ห ว า่ ง เ ช อ้ ื ช า ต ิ ( B r a c h y t h e r a p y i n p r o s t a t e c a n c e r ) เ ป น็ อ กี ต วั อ ย า่ ง ง า น ว จิ ยั เ ช งิ ค ณุ ภ า พ เป็นรูปแบบ focus group พบว่า 1) กลุ่ม Caucasian มีการศึกษาหาข้อมูลมาก่อนการรักษามากท่ีสุด (prior knowledge) ส่วนกลุ่มอื่นจะน้อย กว่า 2) Referral pattern ในกลุ่มAsian จะมีแพทย์ส่งตัว กลุ่ม Caucasian จะเดินทางมาเอง ส่วนกลุ่ม Middle eastern & African จะมีตัวแทน พามา 3) ความคาดหวังในบริการไม่แตกต่างกัน 4) ความกังวลในเรื่องราคาไม่แตกต่างกัน 5) ความกังวลในการปัสสาวะและกิจกรรมทางเพศมีความ แตกต่างกัน 6) การนัดหมายในกลุ่มAsian และ Caucasian จะมาตามนัดมากกว่า 7) การเปล่ียนแปลงรูปแบบการรักษาที่เสนอให้ไม่แตกต่างกัน
พิชญ์สิณีณ์ การสมดี
Medical Tourism Model เป็นโมเดลท่ีใช้ในการดูแล medical tourism ซึ่งจะครอบคลุมตั้งแต่ Pre-arrival, Arrival-Occupancy, Discharge-Departure และ Continued Occupancy
Pre-Arrival (ก่อนเดินทางมาถึงประเทศไทย) :
• การส่ือสารข้อมูลผ่านทางอีเมล เพ่ือนัดหมายในการทาหัตถการผ่าตัดต่างๆ
• การตอบสนอง (response time) ใช้เวลาตอบกลับผู้ป่วย ภายใน 24 ชม. เพ่ือเกิดความม่ันใจและไว้วางใจ รพ.
• การส่งต่อข้อมูลเวชระเบียน (medical record) ประวัติการรักษาเดิม เพื่อให้โรงพยาบาลได้เตรียมตัว
ติดต่อประสานงานพูดคุยร่วมกับทบทวนเวชระเบียนกับแพทย์เจ้าของไข้
• การติดต่อสื่อสารกับแพทย์เจ้าของไข้ (primary care practitioner) ผ่านผู้ประสานงาน (medical coordinator)เพ่ือทราบการรักษา
และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
• Financial plan เป็นสิ่งสาคัญ: บางประเทศจะมี E-payment การโอนเงินค่ารักษาพยาบาลข้ามประเทศจะต้องมีเง่ือนไขอย่างไร มีอัตรา
การแลกเปลี่ยนของเงินในแตล่ ะประเทศอย่างไร รวมถึงประกนั ภัยนั้นครอบคลุมหตั ถการการผ่าตดั หรอื ไม่ การันตกี ารรักษาอย่างไร เพื่อ
ไม่ให้ผู้ป่วยเสียสิทธิ์
• การเดินทาง ซ่ึงรวมถึงวีซ่าท่ีผู้ป่วยต้องทา อายุของวีซ่าที่สามารถมาพานักในประเทศได้ ประวัติการฉีดวัคซีนและเอกสารรับรองสาหรับ
ผู้ป่วยที่เดินทางจากบางประเทศ เช่นไข้เหลือง และการบริหารจัดการเท่ียวบิน
• ความต้องการเฉพาะ (Special Needs) ในกลุ่มต่างๆ ที่ต้องดูแล มี International Referral Offices (RO) 32 ออฟฟิศ ใน 20 ประเทศ
ท่ีช่วยส่ือสารระหว่างผู้ป่วยและโรงพยาบาล
  421 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
 














































































   419   420   421   422   423