Page 438 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 438

B4-106
19th HA National Forum
  รศ.นพ.อภิชาติ จิระวุฒิพงศ์
Lean มมี านานแลว้ แตอ่ ยใู่ นภาคอตุ สาหกรรมมากอ่ น โดย สถาบนั เพมิ่ ผลผลติ แหง่ ชาต,ิ สถาบนั รบั รองคณุ ภาพสถานพยาบาล (สรพ.) และ โรงพยาบาลศริ ริ าช ซง่ึ เปน็ หนง่ึ ในหา้ โรงพยาบาลทไี่ ดร้ บั การถา่ ยทอด Lean ในรนุ่ แรก โดยโรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ได้รับการถ่ายทอดเป็น รุ่นท่ี 2 ซึ่งได้รับการช่วยเหลือ จาก รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจารัสเลิศ ในการมาเป็นโค้ช ช่วยสร้างทีม จนได้แพทย์ และสหสาขาวิชาชีพ เข้ามาร่วมเป็นทีมนาของโรงพยาบาล รวมถึงได้ Dr.Kelvin Loh ผู้เช่ียวชาญจากสิงคโปร์ มาช่วยให้คาแนะนา ตนเองในฐานะ รองผู้อานวยการในขณะนั้น ก็รับเรื่องน้ีมา และได้มาสร้างทีมจัดฝึกอบรมคนของโรงพยาบาล ผ่านไป 5-6 ปี โครงการ Lean ที่ทาสาเร็จจากหน่วย งานต่างๆ ภายในโรงพยาบาล กว่า 68 โครงการ ซ่ึงผลงงานดังกล่าวไม่ว่าจะเป็นผลงานเล็กหรือใหญ่ ก็ถือว่าเป็นความภาคภูมิใจของโรงพยาบาล จากความสาเร็จดังกล่าว ส่งผลให้ทีมเห็นความสาคัญและมีการขยายไปสู่ส่วนต่างๆ ของโรงพยาบาล
จากบทเรยี นในวนั นนั้ พจิ ารณาเหน็ วา่ มบี างโรงพยาบาลทไ่ี ปเขา้ รบั การฝกึ อบรมดว้ ยกนั บางโรงพยาบาลกเ็ งยี บไป ไมไ่ ดม้ กี ารสานตอ่ ในเรอื่ ง ดงั กลา่ ว เนอื่ งมาจาก มองไมเ่ หน็ ความสา คญั ของงานเลก็ ไมร่ วู้ า่ งานใหญข่ อง Lean คอื อะไร และ ไมส่ ามารถสรา้ งทมี ได้ จากการทา Lean กไ็ ดเ้ รยี นรวู้ า่ 1. กรณีได้รับมอบหมายให้ไปรับผิดชอบดูแลงานท่ีไม่คุ้น จะมีการวิเคราะห์ว่าอะไรคือ value อะไรคือ waste และเขียนกระบวนการต่างๆ
ซึ่งทาเข้าใจ และไม่กลัวในการที่จะเข้าไปดูแลงานอื่นๆ
2. ปกติในการพัฒนางาน จะใช้เงิน คน ส่ิงของ แต่การทา Lean ทาให้เห็นว่าไม่จาเป็นต้องใช้คน ใช้เงิน หรือใช้ของก็ได้
3. ผู้บริหาร ต้องมีความรู้ และสามารถให้ความรู้แก่บุคลากร ว่าจะเอามาใช้อย่างไร
ต่อมาได้นามาต่อยอดในโครงการขนาดใหญ่ คือ ระบบสารสนเทศใหม่ของโรงพยาบาล ท่ีมีนโยบายว่าจะร่วมออกแบบกับบริษัท มีการ
ร่วมรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอจากทุกหน่วยงาน ว่าทาอย่างไร ถึงจะนา Lean มาใช้ ในกระบวนการทางานได้ โดยใช้เวลานาน จนโปรแกรมดัง กล่าวได้ใช้งานในปี 2557 ณ วันน้ันในฐานะผู้บริหาร ท่ี ไม่เคยรู้เร่ือง enterprise architecture ที่ต้องมาเรียนรู้ระบบงาน หน่วยงานต่างๆ ในโรง พยาบาล จนทาให้รู้ว่าทุกอย่างมีความเชื่อมโยงกันไปหมด เช่น หมอส่ังยาผิด สะเทือนไปถึง inventory stock การเงิน คนไข้ เมื่อก่อนจะมีการเก็บ เวชระเบยี นของคนไข้ หรอื ของตวั เองไว้ เพอ่ื ความสะดวกในการขอยาจากแพทย์ แพทยก์ ล็ งชอื่ สงั่ ยาใหห้ มด ไมเ่ คยรวู้ า่ เหลา่ นเี้ บกิ ไมไ้ ด้ เพราะไมม่ เี ลข ท่ี visit กระทบถึงการเบิกจ่ายเงิน ของโรงพยาบาล และจากระบบสารสนเทศดังกล่าวที่มีการปรับระบบ Lean เข้าไปในการออกแบบใช้งาน พบว่า
ระบบเวชระเบียนสามารถใช้ Smart card ที่ทะเบียน ข้อมูลต่างๆ จะเชื่อมมาแสดงโดยอัตโนมัติ รวมถึงรูปภาพผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ทาการ กรอกเบอร์โทรศัพท์เท่าน้ัน จะเป็น automatic checking สามารถบอกได้ว่าคนไข้ใช้สิทธ์ิอะไร เนื่องจากระบบมีการเชื่อมต่อ กับ สปสช. กรมบัญชี กลาง และระบบข้อมูลข้าราชการ ก็จะทาให้การทางานเร็วขึ้น แต่ครึ่งล่างท่ีเช่ือมต่อระบบทะเบียนราษฎร์ ท่ีจะติดตามว่าใครอยู่ เป็นตาย ใครย้าย ยังไม่เสร็จ ทาไม่ได้ยังรับอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทย
ระบบการตรวจผู้ป่วย ในส่วนของข้อมูลท่ีได้ คนไข้ก็ไม่ต้องใช้ visit slip หรือ OPD Card แต่เนื่องจากมีแพทย์อาวุโสไม่สะดวกในการคีย์ ในระบบคอมพิวเตอร์ ยังชินกับการใช้ OPD Card จึงต้องมีการใช้ทั้งสองส่วนควบคู่กันไป (ในส่วนที่ไม่ใช้ OPD Card ก็ให้คนไข้ถือ visit slip มาหา พยาบาลตามปกติ) สาหรับการพัฒนาระบบน้ี ต้องควบคู่ไปกับสมรรถนะของเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ โดยมีนโยบายว่าเครื่งมือท่ีซื้อในปี 2559 เป็นต้นมา จะต้องเชื่อมโยงเข้ากับระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลได้ ข้อมูล vital sign ต่างๆ จะเข้าไปรอแพทย์ในระบบเรียบร้อย (กรณีเคร่ืองเก่าก็จะใช้วิธี การวัดและคีย์เข้าไปในระบบแทน)
จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า หลังจากการทา CPOE (Computerized physician order entry) สามารถลดการสั่งยาผิด เป็น 39% Medication error ของ โรงพยาบาล ได้ 55% ข้ันตอน dispensing ลดได้ 67% การบริหารยาลดได้ 51% ปัญหาคือ Software เขียนไว้รอหมดแล้ว แต่รอซื้อ Barcode ท่ียังซื้อไม่ได้เนื่องจากติดระเบียบพัสดุใหม่ของทางราชการ
หลังจากโปรแกรมนี้สาเร็จ ก็ทาให้เภสัชกรสามารถเห็นข้อมูลคนไข้ได้ทั้งหมด จากที่ในอดีตสามารถดูได้แค่ช่ือ HN, Diagnosis ปัจจุบัน สามารถดูข้อมูลการแพ้ยา ดู MIM ได้ด้วย เห็นผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ถ้า renal function ผิดปกติ จะมีระบบที่ alert เภสัชด้วย อีกท้ัง แพทย์ที่สั่งยาสามารถดู drug interaction ได้ด้วย
หลังจากเอา CPOE มาใช้ สามารถลด error ได้ โดย describing order สามารถลดได้กว่า 81% ในผู้ป่วยนอกและ 61% ในผู้ป่วยใน โดย มีการนาผลงานไปตีพิมพ์และเผยแพร่ท่ีประเทศเกาหลี
นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาระบบการจ่ายยา มีการจัดระบบ Replenishment จากคลังยาไปยังหน่วยจ่ายยา จากหน่ึงเป็นสองครั้งต่อวัน สามารถลดอัตราการเบิกยาด่วนได้กว่า 80% พัฒนาระบบการจ่ายยาผู้ป่วยใน ให้สามารถลดระยะเวลารอคอยการจ่ายยา stat จากใช้เวลา 40 นาที เป็น 17 นาที พัฒนาการจัดยาผู้ป่วยใน (IP Fill) เพื่อลดระยะเวลารอคอย ให้เสร็จภายใน 10.00 น. จากเดิม 13.00 น. และลดระยะเวลาการจัดยา ผู้ป่วยนอกจาก 45 เหลือ 30 นาที
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   438


















































































   436   437   438   439   440