Page 439 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 439

B4-106
19th HA National Forum
 ส่วนกรณีมีการเบิกยา stat ระบบจะแทรกคิวยา stat ขึ้นไปอยู่ในลาดับแรกสุดในระบบและขึ้นเป็นตัวอักษรสีแดง เพื่อความชัดเจน โดยจะมีเภสัชกร น่ังเฝ้าหน้าจอ 1 คน และจัดยาให้ก่อน แล้วจัดทีมส่งยา stat ขึ้นส่งยาให้เลย โดยไม่ต้องรอหอผู้ป่วยลงไปรับยาที่ห้องยา
การทา Lean ควบคู่กับ เรียนรู้ และสอนคนในองค์กร เม่ืองานเข้ามาเราก็ใช้วิชาความรู้จาก Lean เข้าไปจัดการได้เต็มที่ ทาให้ระยะเวลา รอคอยลดลง error ลดลง และ patient safety มากขึ้น
นพ.อนันต์ กมลเนตร
โรงพยาบาลสระบุรี นาแนวคิด Lean ไปประยุกต์ใช้ ประมาณ 6-7 เดือน บริบทของโรงพยาบาลสระบุรี จะกลับกันกับโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ ที่สระบุรีมีการจัดการระบบ IT มาก่อน แล้วก็นิ่ง ไม่มีความคืบหน้า ปัญหาใหญ่ของโรงพยาบาลคือ พ้ืนท่ีจากัด ไม่มีที่จอดรถ พยาบาล ทา งานหนกั คนไขร้ อรบั บรกิ ารนาน มกี ารรอ้ งเรยี นบรกิ าร จากอตั รากา ลงั ทข่ี าดแคลน อยา่ งไรกต็ ามกม็ คี า ชมจากผรู้ บั บรกิ ารเขา้ มาเรอื่ ยๆ ยกตวั อยา่ ง อายุรกรรม เราถูกร้องเรียน และลง social media แต่เรามีประชาชนผู้รับบริการรรายอ่ืนๆ ที่มาตอบให้เรา มา protect เรา ให้เราชุ่มช่ืนหัวใจ ให้เห็นว่าเราเองก็ไม่ได้เลวร้าย
เมื่อ 7-8 ปี ที่ผ่าน มีการทา OPD Paperless ให้เจ้าหน้าที่ห้องบัตรออกมาจากห้องบัตร มาให้บริการข้างนอกนอกห้องบัตร ทาให้ผู้ป่วย ไมต่ ดิ กบั แถวกบั ควิ และเจา้ หนา้ ทสี่ ามาถใหบ้ รกิ ารพรอ้ มบรหิ ารจดั การไดเ้ ลย เราเพง่ิ รวู้ า่ นน่ั คอื Lean เรามอี บุ ตั กิ ารณว์ า่ ผปู้ ว่ ยเรามาแตเ่ ชา้ รอถงึ บา่ ย และไม่ได้ตรวจ เราก็งงว่าเกิดได้อย่างไร แม้ว่าที่ผ่านมาจะพยายามแก้ เราก็แก้แบบ inside out เป็นการทา CQI เรื่อยมา ตอนน้ีเราทา Outside in โดยความอนุเคราะห์จาก นพ.เชิดชัย นพมณีจารัสเลิศ มาเป็นโค้ชให้ 5 ครั้ง ให้ความรู้ และให้การบ้าน ยกตัวอย่าง flow opd อายุรกรรม หรือ ห้อง ยา ห้อง x ray มีการทางาน กระบวนการท่ีวุ่นวายสับสน วนไป วนมา อาจารย์มาทา CQI บนกระดาษแผ่นเดียวแบบง่ายๆ ให้เรามีการทาแยกแต่ละ ส่วนงาน เสนอความคิดเห็น ทุกหน่วยงาน ทาให้คะแนนความพึงพอใจเพิ่มข้ึนทันที โดยมีระยะเวลารอคอย ซักประวัติ ที่สั้นลงห้องแลป ลดเวลาลง เหลือ 60 นาที จาก 90 นาที ห้องยาจากมี workload ช่วงเที่ยงเพราะหมอออกตรวจสาย แต่หลังจากท่ีเราพัฒนาก็ลดลงได้ 14% ในหัวข้อนี้ สิ่งท่ี สา คญั คอื เมอ่ื เราเหน็ วา่ ทา แลว้ ไมม่ ที างออก ตอ้ งลองทา outside in และมที มี ทเ่ี ขม้ แขง็ ผบู้ รหิ ารกค็ อยชว่ ยสนบั สนนุ บทเรยี นทเ่ี หน็ จากการทา Lean
1. ต้องไม่มีเงื่อนไขในการทางาน
2. Engagement อะไรที่เราคิดว่าทาดีแล้ว หากไม่มีการ support เต็มท่ี จะล้มเหลว 3. ต้องปรับเปลี่ยนความเชื่อและพฤติกรรมบางอย่าง
นพ.วิฑูรย์ ด่านวิบูลย์
จากประสบการณ์ ในมุมมองผู้บริหาร ความคิดส่วนตัวแล้ว Lean เป็นเรื่องของ mind set โดยวิธีการคิดของคนเรามี 2 แบบ คือ growth mind set เช่น เห็นความสาเร็จของเพ่ือนแล้วมีแรงบันดาลใจ และ fixed mind set เช่น เห็นความสาเร็จของเพื่อนแล้วอิจฉา ต้องมองความล้มเหลว ว่าเป็นโอกาสในการก้าวไปข้างหน้า ไม่ใช่มองเป็นข้อจากัดของตนเอง ดังนั้น การจะนา Lean ไปทา value mind set ต้องเห็นความสาเร็จของคน อื่นแล้วมีแรงบันดาลใจ แสดงว่าเราพร้อมจะเติบโต
ในการทา Lean ต้องรู้ว่า purpose คืออะไร มันควรจะมาจาก inside out ไม่ใช่ outside in ไม่ใช่ทาเพราะถูกบังคับ หรือถูกมอบตัวช้ีวัด
โรงพยาบาลมีแนวคิด ในการที่จะเป็น Accountability Result คือ ร่วมคิด ร่วมทา นาพาความสาเร็จ เราจะพบว่า เมื่อเราสั่ง มันก็จะมี ผลตามมา ซึ่งสิ่งเหล่าน้ีไม่มีความยั่งยืน เมื่อผู้นาเปลี่ยน คาสั่งเปลี่ยน เรื่องเหล่านั้นก็จะหายไป ถ้าจะให้ดีกว่านั้น ควรที่จะเป็น Good foundation การจะสร้างความเช่ือข้ึนมาได้ ต้องมีการออกแบบฐานของประสบการณ์ ถ้าเรามีความเชื่อเดิมๆ เราก็จะได้ผลเดิมๆ ดังนั้นเราต้องมีการเปลี่ยนแปลง
แนวคิดที่ได้จากการทา workshop ร่วมกัน คือ ระยอง 4.0 จะต้องมี 4C ได้แก่ competency, creativity, collaboration, consistency เหล่าน้ีคือสิ่งท่ีร้อยเรียงและจะ align ไปท้ังองค์กร ต้องการเห็นมาตรฐานทุกด้านในระดับสากล มีความพยายามที่จะ benchmark ในเรื่องมาตรฐาน และสร้างส่ิงแวดล้อมในการทางาน เพื่อนาไปสู่การเป็น Digital hospital ตอนนี้เราทา smart T&EA unit ที่ใช้คนน้อยมาก คือจานวน 2 คน เพราะ เจ้าหน้าท่ีมีรากฐานทาง IT และเร่ืองอัตราการสารองคลังยาของ ท่ีกาหนดให้มีสต็อค แค่สองสัปดาห์กว่าๆ ทาให้มูลค่าคงคลังอยู่ในเกณฑ์ และมี just in time inventory คือ มีพอใช้ใน stock เท่านั้น เภสัชกรจัดยากลุ่ม A ที่เป็น 70-80% แรกของมูลค่ายาในโรงพยาบาล ให้มีความพอดีใช้ แต่เน่ืองจากอยู่ต่างจังหวัด ต้องใช้ระยะเวลาในการขนส่งกับบริษัทยา จึงยังไม่สามารถทาให้เป็นศูนย์ได้
  439   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)




















































































   437   438   439   440   441