Page 44 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 44

B3-200
19th HA National Forum
 เมอื่ เรมิ่ แรกทวี่ ทิ ยาการการแพทยแ์ บบตะวนั ตกเรม่ิ เขา้ มาในประเทศไทยนนั้ คนไทยไมน่ ยิ มไปรบั การรกั ษากบั หมอฝรงั่ โรงพยาบาลศริ ริ าช ท่ีมีผู้ป่วยไปรับการรักษาอย่างล้นเหลือในปัจจุบัน เม่ือครั้งที่เริ่มก่อตั้งขึ้นใหม่ๆ นั้นกลับหาคนป่วยไปรับบริการไม่ได้ ถึงแม้ว่าจะมีเคร่ืองไม้เครื่องมือ และบุคลากรพร้อมแล้วก็ตาม เป็นเหตุให้คณะกรรมการโรงพยาบาลต้องออกอุบายจูงใจให้คนมารับการรักษา ด้วยการต้ังรางวัลเชิญชวนคนไข้ สา หรบั หญงิ ตงั้ ครรภก์ ม็ กี ารใหร้ างวลั เปน็ ทนี่ อนเดก็ และเครอื่ งใชต้ า่ งๆ บา้ ง แตก่ ย็ งั ไมเ่ ปน็ ผลสา เรจ็ จนกระทงั่ มกี ารเสนอใหไ้ ปนา ขอทานทนี่ งั่ ขอทาน อยู่แถวสะพานหันมาทาการรักษา เพราะขอทานเหล่านี้มักมีโรคเป็นแผลเรื้อรังต่างๆ ซึ่งแพทย์ฝรั่งยืนยันว่าสามารถรักษาได้ แต่ขอทานก็ไม่ยอมมา รับการรักษา ว่ากันว่าเพราะหากรักษาจนแผลตามร่างกายหายหมด ก็จะไปขอทานต่อไม่ได้
ส่วนยาฝรั่งนั้น เม่ือเริ่มเข้ามาในเมืองไทยก็เป็นที่สนใจของหมอไทยในราชสานักส่วนหน่ึง โดยเฉพาะกรมหลวง วงษาธิราชสนิท ซึ่งเป็น หมอหลวงในราชสานัก ตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี 2 จนถึงช่วงรัชกาลท่ี 3 และรัชกาลที่ 4 จึงได้มีหมอฝรั่งเข้ามาในเมืองไทย และได้นาเอาวิทยาการสมัย ใหม่ด้านต่างๆ เข้ามาเผยแพร่ให้คนไทยได้รู้จัก มีกลุ่มขุนนางหัวสมัยใหม่จานวนหน่ึง รวมทั้งสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส คือ รัชกาลที่ 4 เม่ือยังทรงผนวชอยู่ สนใจศึกษาภาษาอังกฤษรวมท้ังวิทยาการสมัยใหม่ พวกหมอสอนศาสนาฝรั่งก็พากันนาเอาวิทยาการสมัยใหม่มา สาธิตให้ชม ทั้งเร่ืองดาราศาสตร์ การโคจรของดวงดาวต่างๆ การไหลเวียนของโลหิต ตลอดจนการสันดาป และวิทยาการแขนงอื่นๆ กรมหลวงวงศาฯ แม้จะเป็นแพทย์แผนไทยที่สืบทอดวิชาในตระกูลหมอหลวงมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ก็ได้สนใจศึกษาการแพทย์ตะวันตก รวมทั้งโฮมิโอพาธี ทรงเห็นว่า ยาควินินที่ฝรั่งนาเข้ามาเผยแพร่นั้นเป็นของดี จึงทรงรับเอามาใช้แจกจ่ายให้กับคนไข้ ซึ่งปรากฏว่าคนไข้ไม่เชื่อถือ กรมหลวงวงศาฯ จึงต้องทาเป็นยา ลูกกลอนเม็ดใหญ่ โดยใส่ยาควินินเม็ดสีขาวไว้ข้างใน จนสมเด็จกรมพระยาดารง ราชานุภาพทรงเคยปรารภว่า ยาเม็ดใหญ่ของกรมหลวงวงศาฯ นั้น ถ้าผ่าออกมาก็จะมียาเม็ดขาวของฝรั่งอยู่ข้างใน
วิทยาการการแพทย์สมัยใหม่ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเป็นท่ียอมรับมากข้ึนเรื่อยๆ ประสิทธิภาพของการปลูกฝี การทาคลอดสมัยใหม่ รวมทงั้ การผา่ ตดั และการดมยา ทา ใหก้ ารแพทยส์ มยั ใหมเ่ ปน็ ทยี่ อมรบั มากขนึ้ โดยเฉพาะในหมชู่ นชน้ั สงู และเมอื่ การสาธารณสขุ ขยายตวั ไปสภู่ มู ภิ าค การสามารถจดั การกบั โรคตดิ เชอื้ ทเี่ ปน็ กนั อยโู่ ดยทวั่ ไป ทา ใหก้ ารแพทยแ์ ละสาธารณสขุ สมยั ใหมเ่ ปน็ ทรี่ จู้ กั และยอมรบั มากขน้ึ เรอื่ งราวการกา จดั โรค คุดทะราดเป็นตัวอย่างที่ดี ในยุคแรกๆ นั้น กระทรวงสาธารณสุขมีการออกหน่วยกาจัดโรคคุดทะราด โดยการออกตรวจให้การวินิจฉัยและรักษาด้วย การฉดี ยาเพนซิ ลิ ลนิ ซงึ่ เปน็ ยาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู มาก สามารถทา ใหโ้ รคคดุ ทะราดทเี่ คยสรา้ งความเจบ็ ปวดทกุ ขท์ รมานใหก้ บั คนไขม้ าอยา่ งยาวนาน หายไปได้ด้วยการฉีดยาเพียงเข็มเดียว ประชาชนจึงเกิดการยอมรับ เช่ือมั่นและต่างพากันมารักษา ทาให้โรคคุดทะราดลดลงอย่างรวดเร็ว และเมื่อ ระบบบริการสาธารณสุขขยายตัวออกไป การกาจัดโรคคุดทะราดก็สาเร็จโดยไม่มีการค้นพบผู้ป่วยรายใหม่อีกเลยตั้งแต่ พ.ศ.2530
ในสมัยที่เรายังไม่มีระบบโรงพยาบาลอย่างที่เห็นกันอยู่ในทุกวันน้ี โรงพยาบาลที่มีขึ้นในยุคแรกๆ นั้นถูกสร้างข้ึนแบบโรงพยาบาล เฉพาะกิจ ท่ีเรียกกันว่า “โรงพยาบาลเอกเทศ” ที่ปลูกสร้างเป็นเพิงแค่พอได้ใช้รักษาผู้ป่วย โรงพยาบาลเอกเทศจะถูกสร้างข้ึนเมื่อเกิดโรคระบาด ซงึ่ พอเสรจ็ สนิ้ จากภารกจิ แลว้ กย็ กเลกิ ไปเสยี การสรา้ งโอสถศาลาในระยะตอ่ มากไ็ มค่ อ่ ยประสบความสา เรจ็ นกั การบรกิ ารการแพทยส์ มยั ใหมจ่ งึ จา กดั อยู่แต่ในนครหลวง บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลเริ่มขยายตัวออกสู่ภูมิภาคมากขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 คณะราษฎรมี นโยบายท่ีจะกระจายความเจริญและบริการสุขภาพออกไปตามหัวเมืองต่างๆ โดยเป็นการสร้างขึ้นตาม “นโยบายอวดธง” คือ การไปตั้งโรงพยาบาล ข้ึนตาม หัวเมืองชายแดน เพื่อแสดงให้ประเทศเพื่อนบ้านเห็นถึงความเจริญของประเทศ เร่ืองโรงพยาบาลเอกเทศและโรงพยาบาลอวดธงน้ีเราอาจ เข้าใจเรื่องน้ีได้ดีผ่านประวัติการทางานของนายแพทย์เสม พริ้งพวงแก้ว เม่ือหมอเสม พร้ิงพวงแก้ว เริ่มเข้ารับราชการในกระทรวงสาธารณสุข
 44   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)




























































































   42   43   44   45   46