Page 444 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 444
C2-106
19th HA National Forum
คุณค่าท่ีแท้จริงของการรักษาพยาบาลท่คีนผู้ป่วยต้องการ
1. ผุ้ป่วยต้องการที่จะกลับไปมีชีวิตที่ปกติ โดยไม่มีภาวะแทรกซ้อน 2. มีความรวดเร็วในการรักษา
3. ประหยัดเงิน
4. คานึงถึงความเป็นมนุษย์
ตัวอย่างผู้ป่วยรายหนึ่ง อายุประมาณ 30 ปีมารับการผ่าตัด Subtotal Thyroidectomy Admitted เพียง 2 วัน แต่มีแฟ้มประวัติหนา เกือบร้อยแผ่น ถ้าหากพยาบาลทาห่วงแฟ้มประวัติหลุดแล้วเอกสารหล่นจากแฟ้มเมื่อต้องนาเอกสารกลับมาเรียงใหม่ อาจจะใช้เวลานานมาก
ในอดีต แฟ้มประวัติผู้ป่วยไม่หนามาก มีเพียงไม่ก่ีแผ่นเท่านั้น แต่ก็สามารถให้การรักษาจนคนไข้กลับบ้านได้อย่างปลอดภัย ดังนั้นในส่วน ของแฟ้มประวัติที่เพิ่มเติมขึ้นมานั้นจริงๆ แล้วมีไว้เพื่ออะไร
หากมองย้อนไปเม่ือประมาณ 25 ปีท่ีก่อน ขณะน้ันบุคลากรกระทรวงสาธารณสุขขาดแคลน มีแพทย์ พยาบาลทั่วประเทศประมาณเก้า หมนื่ กวา่ คน มแี พทยเ์ พยี งหมนื่ กวา่ คน ประชากรไทยมปี ระมาณ 50 กวา่ ลา้ นคน แตใ่ นปจั จบุ นั ประชากรเพมิ่ เปน็ 70 ลา้ นคน แตส่ ดั สว่ นของบคุ ลากร สาธารณสุขเพ่ิมขึ้นจากเดิมถึง 3 เท่า พร้อมกับมีเทคโนโลยีต่างๆ ที่ทันสมัยมากมายแต่ก็ยังประสบปัญหาขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์มากกว่า เดิมดังน้ันควรที่จะสร้างให้มี Situation Awareness ว่าสิ่งที่ได้ทาอยู่นั้นถูกต้องแล้วหรือไม่ แต่ถ้ามองในภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ จะเห็นว่ากลับมี คณุ ภาพชวี ติ ความเปน็ อยทู่ ดี่ ขี นึ้ มกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง แตส่ า หรบั ดา้ นสาธารณสขุ กลบั สวนทาง ดงั นนั้ ควรเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ทจี่ ะตอ้ งกลบั มาทบทวน
ปัญหาท่ีพบในการจัด Process การทางาน
- มหี ลายสง่ิ หลายอยา่ งทต่ี อ้ งการใหด้ า เนนิ การแตข่ าดการจดั ลา ดบั ความสา คญั วา่ อะไรควรทา กอ่ นหลงั อะไรจา เปน็ ไมจ่ า เปน็ อะไรปลอ่ ยๆ ไปได้บ้าง
- ทาในส่ิงที่ไม่เกิดประโยชน์ หรือ เรียกว่ากาหนด Waste (ส่ิงไม่จาเป็น) ให้เป็น Standard เช่น การตรวจสอบการใช้ยาเสพติดท่ีกาหนด ให้มีการตรวจสอบซ้าซ้อนกันหลายครั้งจนเกินไป เป็นต้น
- สิ่งที่จาเป็น เลยทาไม่ทัน > ต้องรีบ > error
- ตงั้ มาตรฐานสงู เกนิ ไปเชน่ ระบบการ Identification ทส่ี ลบั ซบั ซอ้ นจนเกนิ ไปเปน็ ตน้ ดงั นนั้ ควรจะกา หนดจดุ ทส่ี มดลุ ทที่ า ไดง้ า่ ยแตม่ คี ณุ คา่
- พยายามทาในส่ิงที่เป็นไปไม่ได้ หรือเป็นไปได้ในทางปฏิบัติยาก
- ใหบ้ คุ ลากรทา งานเกนิ ขอบเขต “พยาบาลไทย ตอ้ งทาํา ไดท้ กุ อยา่ ง” ซง่ึ แนวคดิ นจี้ ะตอ้ งปรบั เปลยี่ นใหเ้ หมาะสมเปน็ การใชค้ นใหถ้ กู กบั งาน
- การทาตามกนมา แต่ไม่รู้ว่า ทาไปทาไมเจ้าหน้าท่ีเลยทาแบบไม่เต็มใจ หรือ ทาแต่ไม่เกิดประโยชน์ “เหมือนกับเถรส่องบาตร” ซึ่งมีจุด
ประสงค์ยกบาตรข้ึนส่องกับแสงแดด เพื่อตรวจหารูรั่วของบาตร ถ้าหากขาดการถ่ายทอดเป้าหมายลงสู่ผู้ปฏิบัติ การปฏิบัตินั้น ก็อาจจะ ทาตามๆ กันไปโดยไม่เข้าใจวัตถุประสงค์บางท่านอาจยกบาตรขึ้นมองแต่ไม่ได้ส่องกับแดด หรือบางท่านอาจคิดว่า ให้ส่องแทนกระจก ดังน้ันการกระทาเช่นน้ีนอกจากไม่เกิดประโยชน์ไม่ได้วัตถุประสงค์แล้วยังเสียเวลาอีกด้วย หรือ การกาหนดให้มีการตรวจเช็ครถยนต์ตาม รายการทกี่ า หนดมากเกนิ ไปในทกุ วนั ในรายการทม่ี ากเกนิ ไปเชน่ ระบบปรบั อากาศ แบตเตอรี่ แรงดนั ลมยาง แตใ่ นทางปฏบิ ตั ิ ไมส่ ามารถ ปฏิบัติได้จริงกรณีเช่นนี้ เรียกว่า ไม่ ALARP (As Low As Reasonably Practicable) หากยังคงระบบแบบนี้ไว้ สิ่งที่ต้องทาในแต่ละงาน
ในขณะที่เวลามีจากัด จะเกิดการลัดขั้นตอนอย่างแน่นอน คือไม่ได้ตรวจสอบแต่ลงผลว่าตรวจสอบแล้ว ซ่ึงก็แปลว่าการออกแบบระบบ น้ันไม่ดีพอ
แนวทางการแก้ไขปัญหา คือ
1. การปรบั ระบบใหส้ นั้ ลง โดยการยอมรบั ความเสยี่ งเพม่ิ ขนึ้ แตไ่ มเ่ กนิ ขอบเขตทกี่ า หนดไว้ แตถ่ า้ หากจะยงั บงั คบั ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ทิ า ตามแนวทาง ที่กาหนดทุกขั้นตอนโดยมีข้ันตอนท่ีไม่จาเป็นมากมายจะนาไปสู่การลัดขั้นตอน โดยไม่สามารถคาดการณ์ (Predict) สิ่งที่อาจจะเกิดในอนาคตได้
2. หลังจากปรับระบบให้สั้นลง โดยเหลือแต่ที่จาเป็นจริงๆ ร่วมกับใช้เทคโนโลยีเข้าช่วยเราจึงสามารถพิจารณาความต้องการกาลังคน ที่แท้จริงได้ แต่หากระบบยังมีความไม่สมบูรณ์ทาในสิ่งที่ไม่มีความจาเป็น แม้ว่าจะเพ่ิมกาลังคนเท่าไร ก็ดูจะไม่มีวันพออยู่ดี
สรุปได้ว่า แนวคิด Lean จะสาเร็จได้ จะต้องมี Situation Awareness รับรู้ เข้าใจ เพ่ือเชื่อมโยงความสัมพันธ์และคาดการณ์ โดยมีกรอบ ความเสี่ยงท่ียอมรับได้ ความเป็นจริงในทางปฏิบัติ การคิดจะต้องคิดท้ังระบบ (Total System) ไม่ใช้คิดแค่สิ่งท่ีมองเห็น
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 444