Page 445 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 445
C2-106
19th HA National Forum
รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจารัสเลิศ
ถ่ายทอดประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้เร่ือง Lean ทาให้ได้ข้อสรุปว่าโรงพยาบาลมี Evidence base เกิดขึ้นมากมายแต่ไม่สามารถพัฒนา เพื่อปรับกระบวนการให้มีคุณค่าได้ เพราะยังเต็มไปด้วยขยะ หรือ Waste และเราไม่สามารถทาส่ิงอื่นได้อีกแล้ว แต่ ในทางกลับกัน ส่ิงที่เป็นคุณค่า (Value) ก็ไม่สามารถนาเข้าไปได้ หากเราจะต้องการขจัด Waste เราจะต้องทาความสะอาดบ้านของเราก่อน ฉะนั้นเราต้อง Lean System ก่อน
เม่ือกล่าวถึงองค์กรที่น่าไว้วางใจ หรือ High Reliability Organization นั้น ซ่ึงเป็นองค์กรที่ประกอบด้วย Sensitivity to Operations, Preoccupation, Deference to Expertise, Resilience และ Reluctance to Simplify ท้ังหมดนี้ คือ ความต่ืนรู้ (State of Mindfulness) หรือ แท้จริงแล้ว คือ Situation Awareness น่ันเอง ซ่ึงจะต้องปรับให้ระบบมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน เพราะหากระบบไม่มีการตอบสนอง จะทาให้เกิด ความเหน่ือยล้าดังน้ันทั้งสองส่วนจะต้องสอดคล้องกัน โดยจะต้องฝึกให้มี Situation Awarenessก่อน เพ่ือลดอุบัติการณ์การเกิดตั้งแต่ระดับ Near Miss ซึ่งจะนาไปสู่การเกิด Incidence และเพิ่มระดับของความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ยกตัวอย่าง เช่น ถ้ามีเปลือกกล้วยตกอยู่ที่พ้ืน ถ้ามี Situation Awareness กจ็ ะหยบิ เอาเปลอื กกลว้ ยนน้ั ไปทงิ้ เพอ่ื ไมถ่ งึ มคี นลน่ื ลม้ อาจจะศรี ษะแตกได้ ดงั นนั้ แลว้ เราจะตอ้ งฝกึ บคุ ลากรของเราใหม้ องดว้ ยการคาด การณ์แบบน้ีได้อย่างไร เพ่ือนาไปสู่การปรับปรุงกระบวนการอย่างเป็นระบบ
เมื่อพบว่ามีบุคคลใดกระทาผิด จะมีคนบอกว่าอย่าไปโทษบุคคล เพราะความผิดน้ันมักเกิดจากระบบท่ีไม่มีประสิทธิภาพ ถึง 80% เช่น ถ้า มีเหตุการณ์พยาบาลฉีดยาผู้ป่วยผิด จริงๆ แล้วความผิดนี้เป็นของใคร เป็นเพราะคาส่ังของหมอหรือไม่? แต่ถ้าจะวิเคราะห์ให้ถ่องแท้จริงๆ แล้ว เป็น ความผิดของระบบ เพราะระบบล้มเหลวท่ีออกแบบเพื่อป้องกันไม่ให้มนุษย์ทาผิด แต่ในทางปฏิบัติเมื่อพยาบาลฉีดยาผิด หัวหน้าหอผู้ป่วยก็ให้เขียน รายงานขึ้นมา เป็นการประกาศให้ทุกคนได้รู้ เพื่อให้หลาบจา และไม่ทาผิดอีก วิธีการแก้ปัญหาแบบนี้ก็จะยังคงเป็นการสร้างปัญหาอย่างแน่นอน
ดงั นนั้ ควรจะทบทวนวา่ ระบบลม้ เหลวทจี่ ดุ ใด เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ การฉดี ยาผดิ ซา้ ไดอ้ กี ในสว่ นนต้ี า่ งหากทเี่ ปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ จงึ มแี นวคดิ เรอื่ ง No Blame No Shame เพราะถ้ามีใครทาอะไรแม้แต่จะทาให้เกิด Near Miss ก็ขอให้รายงานอุบัติการณ์ เพ่ือการออกแบบระบบในการป้องกัน ไม่ให้เกิดเหตุซ้า หรือแม้มี Situation Awareness แล้ว มีความสงสัย คาดการณ์แล้ว ก็ให้นาแนวคิดนั้นมาออกแบบเชิงกระบวนการป้องกันขึ้นมา ใหม่จึงมีคาถามว่า เราได้สร้างวัฒนธรรม (Culture) ให้ฝังลึกอยู่ในหัวใจหรือใน DNA ของบุคลากรทุกระดับแล้วหรือไม่?
Lean
มีความเชื่อมโยงอย่างไรกับระบบท่ีต้องการความปลอดภัย (Safety) ถ้าจะปรับปรุงระบบจะต้องใช้เงินหรือเพิ่มคนมากข้ึนหรือไม่ เพราะ ระบบสาธารณสุขก็ไม่สามารถทาได้ ฉะน้ันมีวิธีใด ที่จะทาน้อย แต่ทาให้เกิดความปลอดภัยด้วย
แนวคิด Lean ก็คือ
การมองระบบว่ามีอะไรบ้างที่ยังเป็น Waste อยู่ เพียงแต่เลิกทา Waste ทุกอย่างจะดีข้ึนเอง เมื่อเราให้ความสาคัญกับสิ่งนี้ งานก็จะลด ลงได้ โดยขอให้ถามตัวเองเสมอว่า สิ่งท่ีทาอยู่นี้ มีคุณค่าอะไรกับผู้รับบริการ เมื่อขจัดส่ิงที่เป็น Waste เราจะมีเวลาเหลือที่จะมาทาในส่ิงที่มีคุณค่า กับผู้รับบริการเพิ่มย่ิงข้ึนพร้อมกับทาให้มีความปลอดภัยเพิ่มข้ึน ในเวลาที่สั้นลงเช่นกันในอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์บริษัทโตโยต้าได้ขจัด Waste ตา่ งๆ ในกระบวนการผลติ รถยนตจ์ นทา ใหส้ ามารถผลติ รถยนตไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวดเรว็ แลว้ ในระบบ Healthcare จะสามารถนา ระบบ Lean มาพัฒนาระบบบริการได้อย่างไร
Waste ประกอบด้วย DOWNTIME
Defect Rework Overproduction Waiting
Not using staff talent Transportation Inventory Movement Excessive process
หมายถึง การทางานซ้าๆ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง
หมายถึง การบริการมากเกินความจาเป็น
หมายถึง การรอคอยของผู้รับบริการตามจุดตรวจต่างๆ หมายถึง การเสนอทางเลือก โดยไม่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง การเดินไปยังจุดต่างๆ
หมายถึง การเก็บสารองวัสดุคงคลังมากเกินความจาเป็น
หมายถึง การเคลื่อนที่ของบุคลากรทางการในการทากิจกรรมต่างๆ ซ้าไป ซ้ามา หมายถึง กระบวนการท่ีมากเกินความจาเป็น
445 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)