Page 449 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 449
A1-107
19th HA National Forum
นพ.สมเกียรติ โพธิสัตย์
ที่มาของ Quality of Medical Care : QMC ปี 2558 การปฏิรูประบบสาธารณสุข ภาระหน้าที่ของแต่ละกรมทาอะไรบ้าง คุณภาพ มาตรฐานการดูแลรักษาในประเทศไทยเป็นอย่างไร โดยใช้ 3 คาถาม 1) Quality of Medical Care ปัจจุบันเป็นอย่างไร 2) Quality of Medical Care ควรจะเป็นอย่างไร จากคาถามที่ 1, 2 ทาให้เห็น GAP เกิดข้ึน จึงทาให้เกิดคาถามที่ 3) จะทาให้ Quality of Medical Care เป็นอย่างที่ควร จะเป็น จะทาได้อย่างไร กรมการแพทย์เริ่มจากการทบทวน ศึกษาว่าแต่ละประเทศทาอย่างไร
ในต่างประเทศ อังกฤษ มี NICE: National Institute for Health and Care Excellence จะมี Guidance เป็น Quality Standards และมีตัวชี้วัดอเมริกา มีAHRQ : Agency for Healthcare Research and Quality เป็นผู้ดูแล ควบคุมกากับคุณภาพและมาตรฐานการดูแลด้าน สุขภาพ แยกวัดระดับแต่ละรัฐ ทาเป็น monitor ไฟเขียว เหลือง แดง Mapping ให้เห็นภาพชัดเจน ในออสเตรเลีย มี ACHS : The Australian Council on Healthcare Standards ซ่ึงทาหน้าที่ในการดูแลความปลอดภัยและคุณภาพในการดูแลด้านสุขภาพ กรมการแพทย์ได้มีการทบทวน Documentary Review จากประเทศตา่ งๆ ศกึ ษาจาก Donabedian’s framework เปน็ การประเมนิ คณุ ภาพการดแู ลรกั ษา จาก Donald Berwick and Daniel M. Fox
สิ่งสาคัญสุดในการดูแลรักษา คือ ตัวผู้ป่วยต้องมีส่วนสาคัญในการตัดสินใจในการดูแลรักษา
กรมการแพทย์ จึงลงนามร่วมกับสรพ. เมื่อ 13 สิงหาคม 2558 โครงการนี้เริ่มจากการต้ังคาถาม เร่ิมจากคาถามที่ 3 จะทาให้ Quality of Medical Care เป็นอย่างที่ควรจะเป็น จะทาได้อย่างไร Review แล้วเริ่มทา ผ่านมา 2 ปี
IHI มองวัตถุประสงค์การวัด
1. วัดเพื่อการวิจัย หาความรู้ใหม่ ใช้ระเบียบวิธีวิจัย
2. วัดเพื่อ Account แสดงภาระรับผิดชอบ เปรียบเทียบ หาทางเลือก มีความแตกต่างกันในเรื่องกระบวนการ วิจัย ข้อมูลใหญ่ ภาระรับ ผิดชอบ วัดเต็มพ้ืนท่ี 100 %
3. วัดเพ่ือการพัฒนา ปรับปรุงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการดูแล การเก็บตัวชี้วัด เก็บแล้วใช้ประโยชน์อย่างไร เราต้องตอบตัวเองว่างาน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล อย่างไร จะทาให้ดีข้ึนอย่างไร
รศ.ดร.จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์
การสารวจประสบการณ์ของผู้ใช้บริการในโรงพยาบาลในประเทศไทย ภายใต้ โครงการ Quality of Medical Care Survey ของกรม การแพทย์ ซึ่งได้มีการพัฒนาเครื่องมือ Patient Experience
449 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)