Page 468 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 468
A4-107
19th HA National Forum
ดร.นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธ์ุ
คําาว่า “Smart” ในยุคดิจิทัล (Digital Age) หมายถึง การนาเอานวัตกรรม (Innovation) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) มาพัฒนากระบวนการ (Process) หรือผลลัพธ์ (Outcome) ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ซึ่งถูกนามาใช้ในภาคอุตสาหกรรม และ แวดวงต่างๆ อย่างแพร่หลาย โดยส่วนใหญ่มักจะมุ่งเน้นไปที่การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) เข้ามาใช้ทางานแทน มนุษย์ เช่น Smart Manufacturing, Smart Banking, Smart Leaning ฯลฯ
เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) ถูกนามาใช้ในแวดวงต่างๆ อย่างแพร่หลาย การบริการสุขภาพ (Health care) จึงถูกมองว่าล้าหลัง เพราะการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) มาใช้ในการบริการสุขภาพ (Health care) นั้น ค่อนข้าง มีความท้าทายเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นงานที่มีความเก่ียวข้องกับชีวิตมนุษย์ ที่ยังมีความจาเป็นต้องสร้างความมั่นใจและทาความเข้าใจกับผู้ใช้ บริการ โดยต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ในการให้บริการ จึงทาให้การให้บริการด้วยวิธีการปกติ ไม่ว่าจะเป็นการทาหัตถการ หรือการตรวจโรคด้วย แพทย์ เป็นกระบวนการสาคัญที่เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) ยังไม่สามารถมาทดแทนได้
เม่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) ไม่สามารถนามาใช้ได้กับทุกงานหรือทุกกิจกรรมได้ จึงจาเป็นต้องมีการ พิจารณาการนามาใช้ หรือการเลือกใช้อย่างชาญฉลาด ยกตัวอย่างเช่น Paperless ในโรงพยาบาล ที่เป็นการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) มาใชเ้ พอ่ื ลดการใชก้ ระดาษภายในโรงพยาบาล ซง่ึ บางกจิ กรรมกส็ ามารถนา มาใชใ้ หเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพและลดการใชท้ รพั ยากรได้ แต่ บางกจิ กรรมกเ็ ปน็ การเพมิ่ กระบวนการใหเ้ กดิ ความซา้ ซอ้ นและภาระงานมากยงิ่ ขนึ้ หรอื บางกจิ กรรมทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพอยแู่ ลว้ ซงึ่ ไมจ่ า เปน็ ตอ้ งนา มา ใช้เลยก็ได้ เช่น ป้ายข้อมือบ่งช้ีผู้ป่วยชนิดแถบสี ท่ีช่วยให้แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานสามารถรู้สถานะของคนไข้ได้ทันที โดยไม่ต้อง เรียกดูข้อมูลคนไข้จากระบบคอมพิวเตอร์ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) มาใช้จึงต้องคานึงถึงปัจจัยท้ัง 6 ประการ ดังน้ี 1.ความปลอดภัย (Safe) 2.ความทันเวลา (Timely) 3.ประสิทธิผล (Effective) 4.ประสิทธิภาพ (Efficient) 5.ความเป็นธรรม (Equitable) 6.ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient-Centered)
คาว่า “Smart Hospital” จึงไม่ใช่แค่เพียงการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) เข้ามาใช้ทางานแทนมนุษย์ (IT>มนษุ ย)์ แตเ่ ปน็ การนา เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology, IT) เขา้ มาใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ปรบั ปรงุ กระบวนการ เพอื่ ใหม้ นษุ ยส์ ามารถ ทางานได้ดีย่ิงข้ึน (มนุษย์+IT)>มนุษย์ และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการ และผู้ให้บริการมากท่ีสุด เช่น ATM in Health care ท่ีสามารถเข้าถึง ประวัติการรักษาคนไข้ได้อย่างปลอดภัย ท่ัวถึง และทันเวลา หรือโปรแกรมช่วยคานวณ และโปรแกรมแจ้งเตือนต่างๆ ซ่ึงสรุปได้ว่า การนาเทคโนโลยี สารสนเทศ (Information Technology, IT) มาใชใ้ นการบรกิ ารสขุ ภาพ (Health care) ตอ้ งใหค้ วามสา คญั กบั Health มาเปน็ อนั ดบั แรกสว่ นเทคโนโลยี สารสนเทศ (Information Technology, IT) เป็นเครื่องมือที่นามาช่วยเสริมให้กระบวนการทางานนั้น เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งข้ึน
ผศ.นพ.สถิตย์
นริ มติ รมหาปญั ญา
นวตั กรรม (Innovation) หมายถงึ การสรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ ๆ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเปลยี่ นแปลงและสามารถมองเหน็ ประโยชนท์ เี่ กดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ ง ชดั เจน ซงึ่ หวั ใจสา คญั ของนวตั กรรม คอื การจนิ ตนาการทกี่ ารพฒั นาดว้ ยวธิ เี ดมิ ๆ ไมอ่ าจใชก้ ารไดผ้ ลอกี ตอ่ ไป สถานการณท์ มี่ คี า ตอบไมช่ ดั เจน จงึ เปน็ โอกาสเปิดสาหรับจินตนาการและนวัตกรรม โดยการจัดการนวัตกรรมน้ัน องค์กรต้องส่งเสริมให้นาโอกาสเชิงกลยุทธ์มาพัฒนานวัตกรรม และมีการ สนับสนุนการเงินและทรัพยากรอื่นๆ ที่จาเป็น ได้แก่ 1.จัดการให้นวัตกรรมเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กรและงานประจา 2.ผู้บริหารส่งเสริมให้ ผู้ปฏิบัติงานได้ทดลองความคิดใหม่ๆ ส่งเสริมการฝึกอบรมด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม และ 3.ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมในกระบวนการ จัดการบริการ โดยมีบันได 10 ข้ัน แห่งหนทางสู่ Innovators and Innovation Organization ดังนี้
1. การสารวจปัญหา (Proposition) คือ การมองเห็นปัญหาท่ีเกิดขึ้น หรือส่ิงท่ีต้องพัฒนาปรับปรุงให้เกิดส่ิงใหม่ท่ีดีกว่า
2. การวางแผน (Creativity / Imagination / Planning) คือ การหาแนวความคิด พิจารณาความเป็นไปได้และวางแนวทางในการ ดาเนินงาน โดยใช้ The Innovation Master Plan ในการต้ังคาถาม ได้แก่ WHY, HOW, WHAT, WHO, WHERE
3. การสร้างและพัฒนา (Doing / Building / Develop) คือ การปฏิบัติตามแผนการหรือแนวทางท่ีได้วางไว้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาหรือ เปลี่ยนแปลงไป จากกระบวนการเดิมที่เคยทาอยู่
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 468