Page 469 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 469
A4-107
19th HA National Forum
4. การสร้างต้นแบบ (Invention / Prototype) คือ การสร้างสิ่งที่เป็นมาตรฐาน เพื่อสามารถนามาใช้เป็นต้นแบบ ในการต่อยอดให้เกิด การพัฒนาต่อไปได้
5. การทดลองตลาด (Pre - Market) คอื การนา เอาตน้ แบบหรอื สง่ิ ประดษิ ฐท์ ไี่ ด้ ไปทา การทดลองใชง้ าน เพอื่ สา รวจผลตอบรบั (Feedback) มาพัฒนาปรับปรุง
6. การจดสิทธิบัตรและวิจัย (Patent/Research) คือ การนาสิ่งประดิษฐ์ไปจดสิทธิบัตร เพื่อป้องกันการถูกลอกเลียนแบบ ที่เป็นการ ต่อยอดไปสู่การสร้างธุรกิจ และการทาวิจัยเพ่ือยืนยันผลการใช้งาน
7. การสร้างธุรกิจ (Business) คือ การนาสิ่งประดิษฐ์ไปสู่เชิงพาณิชย์ เพ่ือเตรียมวางจาหน่ายในท้องตลาด
8. การสร้างรูปลักษณ์ (Packaging) คือ การพัฒนาส่ิงประดิษฐ์ให้มีความโดดเด่นและเกิดความประทับใจ
9. การสร้างทัศนวิสัย (Visibility) คือ การเปิดตัวสิ่งประดิษฐ์ให้เป็นที่รู้จัก ด้วยเทคนิคหรือวิธีการต่างๆ
10. การตลาดและผลิตภัณฑ์ (Market & Product) คือ การเปลี่ยนสถานะจากผู้ผลิตหรือนวัตกร (Innovators) มาเป็นผู้ประกอบการ
ซึ่งจะต้องทาให้นวัตกรรม (Innovation) กลายเป็นผลิตภัณฑ์ ที่สามารถครองใจผู้ใช้งานและทาให้ผู้ใช้งานเกิดความต้องการในผลิตภัณฑ์ต่อไปได้ การสร้างนวัตกรรม (Innovation) ไม่ได้เป็นเรื่องของการนาเทคโนโลยีมาใช้แต่เพียงเท่านั้น แต่เป็นการสร้างสรรค์ สิ่งใหม่ๆ ให้เกิดข้ึน โดยใช้จินตนาการ แรงกาย แรงใจ ความอดทน และความทุ่มเทอย่างเต็มความสามารถ รวมไปถึงต้องใช้ระยะเวลาในการดาเนินงาน และทรัพยากร อยา่ งมากมาย ดงั นนั้ ในการสรา้ งนวตั กรรม (Innovation) จงึ ตอ้ งมกี ารดา เนนิ งานตามกระบวนการดงั กลา่ วทง้ั 10 ขนั้ ตอน (บนั ได 10 ขนั้ แหง่ หนทาง
สู่ Innovators and Innovation Organization) เพื่อให้นวัตกรรม (Innovation) นั้น ประสบผลสาเร็จและเกิดความยั่งยืน
บทส่งท้าย
Digital Health เป็นการยกระดับการบริการสุขภาพ (Health care) ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และได้มาตรฐาน โดยนา เทคโนโลยี (Technology) และนวัตกรรมต่างๆ (Innovation) มาเป็นเคร่ืองมือในการปรับปรุงกระบวนการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ดังนั้นผู้ที่ มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริการสุขภาพ (Health care) ไม่ว่าจะเป็นผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ต้องมีการปรับตัวต่อการ เปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ โดยผใู้ หบ้ รกิ ารตอ้ งมกี ารปรบั เปลยี่ นบรบิ ทองคก์ ร เพอื่ รองรบั ตอ่ ความตอ้ งการทางดา้ นสขุ ภาพของประชาชนในยคุ ทเ่ี ทคโนโลยี (Technology) และนวัตกรรม (Innovation) มีความก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส่วนผู้รับบริการเองก็ต้องเรียนรู้ และทาความเข้าใจในรูปแบบของ การบริการสุขภาพ (Health care) ที่มีความแตกต่างไปจากเดิม เพื่อให้ Digital Health สามารถเดินหน้าพัฒนาต่อไปได้ และเกิดประโยชน์ต่อการ บริการสุขภาพ (Health care) อย่างสูงสุด
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
Digital Health เป็นการนําาเอาเทคโนโลยี (Technology) และนวัตกรรม (Innovation) มาช่วยในการบริการสุขภาพ (Health care) โดยนามาเป็นเคร่ืองมือในการช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และให้ผู้รับบริการสามารถ เข้าถึงบริการและข้อมูลได้อย่างทั่วถึง ไม่ใช่การนาเทคโนโลยี (Technology) และนวัตกรรม (Innovation) มาทางานแทนมนุษย์เช่นเดียวกันกับ ภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
1. การจัดการให้นวัตกรรมเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กรและงานประจา
2. การส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานได้ทดลองความคิดใหม่ๆ ส่งเสริมการฝึกอบรมด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3. การส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมในกระบวนการจัดการบริการ
4. การใช้จินตนาการ เป็นเครื่องนาทางความรู้
5. การใช้ความพยายาม อดทน ทุ่มเท และทดลองซ้า จนเกิดสิ่งใหม่
6. การสนับสนุนด้านทรัพยากรที่จาเป็น ในการสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovation)
7. การเลือกใช้เทคโนโลยี (Technology) และนวัตกรรม (Innovation) อย่างชาญฉลาด
8. การให้ความสาคัญกับการบริการสุขภาพ (Health care) เป็นอันดับแรก
469 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)