Page 65 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 65

A3-201
19th HA National Forum
 ดังนั้นหากข้อมูลหรือสถานการณ์เป็นแบบน้ี จึงควรจะสร้างระบบท่ีตอบสนองต่อมิติจิตวิญญาณ โดยสามารถเริ่มจากข้อมูลคนไข้ด้วยมุมคนไข้และ ใช้ระบบสารสนเทศใน Chart เป็นตัวตั้ง ก็จะสามารถขยับระบบได้ส่วนหนึ่ง มีตัวอย่างของโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง ที่กาหนดนโยบายให้บุคลากร ใหมทุ่กวิชาชีพไปอยู่กับชุมชนอยู่กินกับประชาชนเพื่อเรียนรู้และเห็นความทุกข์ของประชาชนและเมื่อกลับมาเป็นstaffของรพ.บุคลากรทุกคน จะฟังคนไข้และตอบสนองความต้องการของคนไข้ได้ นับว่าเป็นการพัฒนาบุคลากรที่ดี เป็นหล่อหลอมคนรุ่นใหม่ให้มีทั้งคุณภาพและประสิทธิภาพ ด้วยหยินและหยางอย่างสมดุล
การพัฒนาบุคลากร ควรเป็นมุมมองจาก Outside in มากกว่าแบบ Outside in ซ่ึงมีตัวอย่างของประเทศสิงคโปร์ พยาบาล CVT คนหนึ่งได้มาพูดคุยเรื่องการจัดการคนไข้ที่อยู่นอก ICU เน่ืองจากได้กาหนดเป้าหมายว่าจะต้องลดจานวนคนไข้ใน ICU 20 % จึงเป็นความท้าทายว่า ทาอย่างไรให้คนไข้ท่ี admit ท่ี ward สามัญได้รับการดูแลเทียบเท่าใน ICU วิธีจัดการคือให้ พยาบาล ICU ไปดูแลคนไข้ที่ ward 2 วัน เพื่อให้แน่ใจว่า คนไขจ้ะไม่มาrevisitที่ICUจึงได้เห็นถึงความทุกข์ยากของการดูแลคนไข้หนักในGeneralwardเข้าใจทันทีเลยว่าทาไมคนไข้ที่อยู่Generalward จึงต้องย้ายเข้าไปรักษาที่ ICU ซึ่งไม่ใช่ความผิดของ General ward แต่เป็นเรื่องของโครงสร้างและทัศนคติของแพทย์ พยาบาลที่ถูกหล่อหลอม กันมาและเห็นถึงสภาพปัญหาทางส่ิงแวดล้อมบางอย่าง จึงเกิดกระบวนการปรับระบบงานโดยนาบางอย่างท่ี ICU ไปปรับใช้ท่ี ward จึงเกิดการ พัฒนา ทาให้เห็นว่าเราพัฒนากันไม่ได้เพราะเราอยู่กันเป็นแบบไซโล ไม่เคยไปเห็นการทางานของคนอ่ืน ทาอย่างไรเราจะละลายความเป็นของๆ เรา ให้เป็นการทางานด้วยกันในแนวราบ (Flat shape)
กรณีตัวอย่าง โรงพยาบาลแม่แจ่ม ซ่ึงได้เปล่ียนช่ือเป็นโรงพยาบาลเทพรัตน์เวชชานุกูลเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา อยู่ในพระอุปถัมภ์ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ผู้นาโรงพยาบาลต้องการทาให้ รพ. เป็นรมณียสถานแห่งการเยียวยา ด้วยความฝันว่า อยากให้ คนไข้ท่องเท่ียวใน รพ.ตามท่ีคุณหมอนัดหมาย และรมณียสถานของผู้นา คือ แพทย์ พยาบาล ดูแลคนไข้อย่างเป็นครอบครัวเดียวกัน ทุกส่ิงอันที่จะ ดูแลคนไข้จะเป็นรมณียสถานและเม่ือเข้าไปใน รพ.ก็มีแต่ความรื่นรมย์ จึงทาให้เรียนรู้ว่า การนาด้วยความฝัน จะทาให้ไปได้ไกลแสนไกล สิ่งที่สัมผัสได้ ถ้ามีความฝันจะมีส่ิงแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเยียวยาโดย ไม่ต้องไปบอกถึงมาตรฐาน
เรวดี ศิรินคร
ตั้งคาถามกับผู้เข้าร่วมประชุมว่า “คิดอย่างไรกับ SHA” โดยหลักการของ SHA Principle มี 4 องค์ประกอบสาคัญ ได้แก่
1) Spiritual Responsiveness การใส่ใจต่อการเยียวยาความทุกข์ของมนุษย์และตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณ
2) Human Growth การส่งเสริมให้มนุษย์เติบโตเต็มศักยภาพของตนเอง และงอกงามไปสู่ความ เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์
3) Inspiration การสร้างแรงบันดาลใจท่ีหลากหลายเพ่ือให้ทุกคนมี จินตนาการ มีพลังท่ีจะสร้างสรรค์
4) Reflection and Refinement การสร้างระบบที่ทาให้ เกิดการทบทวนสะท้อนคิด ซ่ึงล้วนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในการ
พัฒนาคุณภาพเช่นกัน การเย่ียมประเมินในมิติจิตวิญญาณร่วมกับการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเป็นเรื่องท้าทายเรื่องหน่ึงสาหรับผู้เยี่ยมสารวจและโรงพยาบาล
จึงควรหาพื้นที่ในการเยี่ยมรับรู้และตอบคาถามได้ว่า spiritual “เท่าไหร่ถึงจะพอดี” ให้มีความสมดุลท้ังหยินและหยาง และเป็นสิ่งที่ค่อนข้างยาก ด้านฝั่งที่เป็น Strong โรงพยาบาลได้ทากันมาก มีความทุกข์ เกิดความไม่ปลอดภัย ผู้เย่ียมสารวจเองก็สัมผัสได้ถึงกาแพงบางอย่าง และรู้ถึง Need ท่ีอยากร่วมกันโน่นทานี่มากมาย บางครั้งก็ร้องไห้ แต่มียังบางเรื่องที่ไม่มาร่วมมือกันเท่าไหร่ คุณหมออยากทาแต่ก็ไม่สามารถทาได้ จะมีทางออก อย่างไร ทาแล้วเหนื่อยผลออกมายังไม่ดี มิติทางด้านจิตวิญญาณ (spiritual) แย่ลง จนโรงพยาบาลบอกว่าเขาไม่อยากได้ Recommendation 3 ปี ไม่รู้เอาไปทาอะไร ได้แล้วกลับมามีบรรยากาศแล้วเหมือนเดิม ยังมีปัญหาอีกเยอะ ยังมีตัวสะท้อนว่าคนไข้ไม่ปลอดภัยในการดูแลร่วมกัน ทั้งระบบ Consult และอื่นๆ อีกมากมาย ท่านผู้อานวยการโรงพยาบาลเงียบ แต่คุณหมอที่เป็น staff บอกว่าขอ Recommendation ที่สามารถแก้ได้ใน 3 เดือน 6 เดือน และจับความรู้สึกได้ว่าเขาอยากได้สิ่งที่ต้องมาพูดคุยแลกเปล่ียนกัน อยากให้มีระบบคุณภาพที่ความยั่งยืน และคนในโรงพยาบาล เร่ิมเปลี่ยน mindset ซึ่งต้องมีด้าน Spiritualเข้ามาช่วย แต่จะทาอย่างไร จึงจะเอา spiritual ออกมาจาก inner ของคนในโรงพยาบาลได้
มี Scenario หนึ่ง คือ โรงพยาบาลหนึ่งได้จัดระบบบริการใหม่ โดยจัดให้พยาบาลประจา ward ไปเย่ียมบ้านคนไข้ ในขณะที่มี Workload และคนไข้จานวนมา แต่ด้วยการจัดบริการใหม่ด้วยแนวคิดการใช้ชุมชนเป็นฐาน เมื่อลงเยี่ยมบ้าน บทเรียนท่ีได้คือ เหน่ือยมากขึ้น แต่สิ่งที่ได้มานั้น มีคุณค่า เพราะได้เห็นความทุกข์ (suffering) ของคนไข้ กินยาไม่ถูกเพราะไม่มีใครดูแล ลูกก็ไม่ได้อยู่ด้วย คนมีลูกๆ ก็ไปทางาน การซักประวัติท่ี รพ. ไม่ได้อะไรเท่าไหร่ ไม่เห็น Life style ของคนไข้ การทา discharge plan และสอนน่ันสอนน่ี พอลงเยี่ยมบ้านจริงมันคนละเรื่องกัน มีส่ิงที่ได้ เรียนรู้มากกว่านั้นมากมาย ทาให้เกิดมุมมอง วิธีคิด เร่ืองราวที่จะพูดคุยกับคนไข้ ได้บทเรียนชีวิตกลับมา และเรียนรู้ว่าจะคุยกับคนไข้แบบไหน จะคยุ กบั ญาตแิ บบไหน เปน็ การขบั เคลอื่ นการพฒั นาคนดว้ ยการเรยี นรใู้ นพนื้ ทจ่ี รงิ สดุ ทา้ ยการทที่ กุ คนลงพนื้ ทเี่ ยยี่ มบา้ นเมอื่ กลบั มากเ็ ปน็ การเยยี วยา ทั้งตนเองและคนไข้ และค่อยๆ นาส่ิงที่ได้มาปรับระบบงานและอีกท้ังเป็นวิธีการพัฒนาคน
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   65




















































































   63   64   65   66   67