Page 64 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 64

A3-201
19th HA National Forum
 มักจะเกิดความเครียด ถ้าไม่มี อีก 2 ด้าน ประกบ คือ ต้องมีด้านที่ 3 คือ Living organization และด้านที่ 4 คือ Learning organization แต่จะ ทาอย่างไรให้เราเอางานมาเรียนรู้เพื่อชูจิตใจของเราให้ได้ เป็นงานท่ีทาให้เรามีความสุขและมีคนอ่ืนเข้ามาเป็นแรงบันดาลใจ เหมือนเหรียญ 2 ด้าน ที่มาประกบกัน และทุกองค์กรต้องการ two strong culture หนึ่ง คือ Tiger หมายถึง ความเก่ง มี performance ดีมาก มีความน่าไว้วางใจ ผ่าตัด ก็ไม่ติดเชื้อ เอาแม่มาคลอดลูกก็เกิดรอดแม่ก็ปลอดภัย แต่อีกด้านหน่ึงองค์กรไม่ได้ต้องการคนท่ีเก่งตลอดเวลา แต่ต้องการคนที่เป็นโจ๊กเกอร์ (Joker) คอื คนทสี่ นกุ สนาน สามารถ respect คนอน่ื ได้ คนอนื่ มาคยุ ดว้ ยกเ็ กดิ แรงบนั ดาลใจ คนทไ่ี ดอ้ ยใู่ กลช้ ดิ รสู้ กึ มกี า ลงั ใจ องคก์ รตอ้ งการ Integrating two strong culture ไปในทศิ ทางเดยี วกนั คอื เอาความเกง่ มาเปน็ ความสนกุ เอาความสนกุ มาเสรมิ สรา้ งความเกง่ กลวธิ มี คี วามสอดคลอ้ งทงั้ หยนิ และหยาง
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมิติทางจิตวิญญาณ หรือ Spiritual อาจารย์สมจิตต์ได้เล่าต่อว่า เม่ือสัก 2 สัปดาห์ท่ีผ่านมา ได้ตรวจคนไข้ตั้งแต่ 8 โมงเช้าจนถึงเที่ยงกว่า ยังมีคนไข้เหลืออยู่ข้างนอกประมาณ 20 คน และอาจารย์รู้สึกหิวมาก มีคนไข้เดินเข้ามาตอนเวลา 12.10 น. คนไข้เข้ามานั่ง แล้วถามว่า “คุณหมอหิวไหม ที่จริงคุณหมอน่าจะพักสักแป๊บ พวกเรารอได้” คาพูดนี้มันเป็น Inner resource e of healing ได้เยียวยาเราทันที ความโมโหความหิวและความอะไรต่างๆ มันหายไปทันที ความตั้งใจที่จะด่าคนไข้ว่า “แค่ตาแดง ทาไมต้องมาตอนนี้” ก็เลยพูดว่า “ไม่เป็นไรคุณป้า ตรวจคุณป้าก่อน คุณป้าก็หิวใช่ไหม” คุณป้าบอกว่า “ป้าก็หิว แต่ป้าหิวป้านั่งรอเฉยๆ แต่คุณหมอหิวคุณหมอต้องตรวจคนไข้” ทาให้เห็นว่าคนไข้ ละเอยี ดออ่ นกวา่ ทเี่ กนิ กวา่ ใจเราคดิ คณุ ปา้ มาดว้ ยคา นเี้ ราฟงั แลว้ หายเหนอื่ ยและมนั เปน็ Inner resource of healing เรอ่ื งเลา่ เรอื่ งท่ี 2 ของอาจารย์ คือ คืนหน่ึงอาจารย์ตื่นขึ้นมาดู Facebook น้องหมอ neuro ศัลย์ฯ ประมาณตี 3 ตี 4 น้องหมอฯเขียนไว้ว่า “คืนน้ีเป็นคืนท่ีมีความสุขมาก วันนี้ ผ่าตัดคนไข้มาแล้ว 6 ราย ตั้งแต่หัวค่าจนถึงตี 2 คนไข้รายนี้เป็นคนที่ 6 แต่คนไข้คนที่ 6 ยังเป็นคนไข้คนที่ 1 เสมอ.. ชื่นใจจริงๆ คืนนี้นอนหลับฝันดี” สงิ่ เหลา่ นเี้ ปน็ สงิ่ ทเี่ ยยี วยาใจของเรา และ Human growth คอื การใหม้ นษุ ยเ์ ตบิ โตงอกงามเปน็ มนษุ ยส์ มบรู ณด์ ว้ ยงานทส่ี รา้ งแรงบนั ดาลใจ ซง่ึ แตกตา่ ง จากเร่ืองเล่าเรื่องที่ 3 ของอาจารย์ซ่ึงเป็นเรื่องจาก Facebook ของพยาบาลคนหนึ่ง เขียนไว้ว่า “โรงงานนรกจริงๆ เวร 8 โมงถึง 4 โมงเย็น ต้องมา รับเวรตั้งแต่ 7 โมงครึ่ง ตอนน้ีลงเวรทุ่มหนึ่ง ต้องมาทา Chart คนไข้ที่มา admit ตั้งแต่บ่าย 3 โมงครึ่ง จริงๆ ทาไมต้องมา admitted ตอนนี้ด้วย นี่คือ โรงงานนรกชดั ๆ” และมคี นเขา้ มาโพสตต์ อ่ ดว้ ยคา พดู ทรี่ นุ แรงขนึ้ เรอ่ื ย อาจารยไ์ ดใ้ หข้ อ้ คดิ วา่ การทเ่ี ราทา งานเหนอื่ ยแลว้ ควรตอ้ งสรา้ ง inspiration จากการทางานและเป็นส่ิงที่ท้าทายมาก ความมี spiritual เป็นสิ่งที่อยู่ลึกท่ีสุดในใจของคนและควรยกระดับ
เริม่ ต้นอย่างไรให้พวกเราเห็นทัง้ Diseases และ suffering ของคนไข้
มูลนิธิฉือจี้ เมื่อ 10 ปีท่ีแล้ว หมอ พยาบาลและบุคลากรทุกคนถูกสอนให้เรียนรู้เรื่อง suffering และเป็นจิตอาสา ให้เรียนรู้เรื่องความทุกข์ ยากของคนไข้ มีการ conference เร่ืองความทุกข์ยากของคนไข้มาแก้ไขปัญหาและหาทางออกร่วมกันโดยธรรมาจารย์เจิ้งเหยียนในทุกวันพุธ ตอนเช้า และให้คุณหมอไปนอนกับคนไข้ 3 คืน เพื่อพูดคุยและเรียนรู้กับคนไข้ ทาความเข้าใจซึ่งกันและกัน จนเข้าใจ suffering ของคนไข้ และคนไข้ เข้าใจ suffering ของหมอทาให้รู้ว่านี่คือมนุษย์เยียวยามนุษย์ Move จาก patient center เป็น Human center คนไข้เป็นมนุษย์ หมอก็เป็นมนุษย์ เป็นสิ่งท่ีมนุษย์พึงกระทาต่อมนุษย์ด้วยกัน มิใช่เป็นคนหนึ่งเป็นหมออีกคนเป็นคนไข้ จากวิดีโอที่หมอไปนอนกับคนไข้ ได้เห็นภาพ คุณหมอรินน้าให้ คนไข้ ลูบคลา ท้องคนไข้ท่ีมีเน้ืองอก ค่อยๆ เช็ดตัวให้คนไข้ ได้ทาให้อาจารย์คิดว่า หมอแบบนี้ก็มีในโลก แล้วผมเป็นหมอแบบไหน ทาไมจิตใจเรา ไม่อ่อนโยนแบบหมอที่เราเห็นในวิดีไอ ซึ่งเป็นการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (Humanization) จนเกิดเป็นคุณค่าสูงสุด แล้วโรงพยาบาลของเรา จะทาอะไรได้บ้าง และผู้นาทาอย่างไรที่จะให้บุคลากรของโรงพยาบาล มี Spiritual สูง สร้างความผูกพันและมีแรงบันดาลใจที่สูงซึ่งเป็นหน้าที่ของ ผู้นาโรงพยาบาล เพราะความล้มเหลวของผู้ตามคือความไม่สาเร็จของผู้นา หรือความไม่สาเร็จของผู้ตามคือความล้มเหลวของผู้นา
จากโครงการ SHA conference เมื่อหลายปีก่อน ได้ฟังผู้อานวยการโรงพยาบาลท่านหนึ่งที่โรงพยาบาลจนที่สุดของจังหวัด บุคลากร ใน รพ.แตกความสามัคคี ด้วยเหตุที่ รพ.จนขาดสภาพคล่องทางการเงินที่ไม่สามารถใช้งบประมาณพัฒนาโรงพยาบาลได้ จึงได้ชวนกันทาค่ายอาสา ด้วยการ survey ไปเจอคนงาน 2 คน ท่ีจนที่สุดในโรงพยาบาล จึงเข้าไปช่วยกันสร้างบ้าน ต่อมาก็ไปสร้างบ้านให้คนไข้และไปช่วยเจ้าหน้าที่ที่จน ในการสร้างบ้าน จนกระท่ัง 1 ปี ผ่านไป พบว่าคนในโรงพยาบาลรักกันมากข้ึน มีจิตอาสา เกิดแรงบันดาลใจท่ีจะช่วยกัน อยากจะบริจาคเพ่ือช่วยเหลือ กันและกัน ช่วยกันแบบไม่มีมาตรฐาน แต่ทาให้มนุษย์มีความผูกพัน เกิดแรงบันดาลใจ มีจิตใจที่จะช่วยกัน และโรงพยาบาลอีกแห่งหนึ่ง ผู้อานวยการ โรงพยาบาลได้ให้หมอพยาบาลต้องสอบถามความทุกข์ยาก (suffering) ของคนไข้ที่ผ่านมาเมื่อวาน น่ันคือPatient experience เพื่อนามาช่วยกัน แก้ปัญหา ผู้อานวยการโรงพยาบาลชอบเรื่องนี้จนสามารถวางเป็นระบบและทาอย่างต่อเนื่อง และถ้าอยากจะรู้ว่าผู้นาโรงพยาบาลเป็นอย่างไร ให้ไปดูท่ีแฟ้มประวัติ (Chart) คืออะไร เพราะเป็นส่ิงท่ีให้ความสาคัญสูงสุด จึงจะเห็นว่าโรงพยาบาลบางแห่ง จะแสดงสถานะสิทธิของคนไข้ แสดงว่า รพ.นั้นเน้นทางด้านการเงิน บางโรงพยาบาลบันทึกส่ิงที่คนไข้อยากบอกหรือต้องการสื่อสารใน chart หน้าแรก เพื่อบังคับให้หมอพยาบาล เปิดดูในเรื่อง Suffering ของคนไข้ เพราะการมีข้อมูลคนไข้อย่างมากเพื่อที่จะนามาใช้ในการเสริมพลัง ในต่างประเทศจะมีการให้คนไข้บันทึก เวชระเบยี นทเี่ รยี กวา่ PROM หรอื Patient report outcome medical record ซง่ึ เปน็ การเนน้ การตอบสนองตอ่ มติ ทิ างจติ วญิ ญาณ พวกเราเรยี นแต่ วิชาสอนการซักประวัติให้สุภาพ นั่นคือวิชาการสัมภาษณ์ประวัติ แต่ไม่ได้มีวิชาการฟังประวัติของคนไข้ มีแต่วิชาการสัมภาษณ์ประวัติของคนไข้
64   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)



























































































   62   63   64   65   66