Page 63 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 63
A3-201
19th HA National Forum
นพ.สมจิตต์ ช้เีจริญ
อาจารย์ได้กล่าวนาในการประชุมว่า การประเมิน HA นั้น จะประเมินจากมุมมองของคนไข้หรือท่ีเรียกว่า Patient experience ซึ่งไม่ว่า จะผ่านไปก่ีปี คนไข้ก็จะซาบซึ้งในส่ิงที่ได้รับจากบุคลากรทางการแพทย์หรือพยาบาลเสมอ จากกรณีเรื่องเล่าของนายแพทย์พงษ์สันต์ ลี้สัมพันธ์ นั้น สิ่งท่ีคนไข้ได้รับ คือ ความปลอดภัยและการรอดชีวิต ที่ถือว่าเป็นคุณค่าสูงสุดท่ีโรงพยาบาลมอบให้ผู้รับบริการ และสร้างความพึงพอใจจนเกิดเป็น ความปิติ ซ่ึงโรงพยาบาลไม่ได้มีแบบวัดประเมินความปิติ แต่คนไข้สามารถแสดง (express) ออกมาได้ ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานแค่ไหน
การประเมินมิติ Spiritual ในกระบวนการ HA นั้นเป็นการประเมินจากผู้ป่วยว่ามีการได้รับการดูแลที่ปลอดภัย (Patient safety) และ มีมาตรฐาน (Standard) เป็นพ้ืนฐานได้รับการดูแลท่ีเคารพในศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ ได้รับการตอบสนอง Spiritual needs อย่างเหมาะสม เสริมพลังชีวิต สร้างพลังแห่งการเยียวยาจากศักยภาพภายในของผู้ป่วยเองจนเกิดความปิติ เกิดความสุข แม้ยังมีโรคภัยไข้เจ็บหรือต้องเผชิญหน้า กับความสูญเสีย และประเมินทีมนาสูงสุดของโรงพยาบาลว่า มีการนาด้วยความฝัน สร้างแรงบันดาลใจ มากกว่าสิ่งที่วัดได้ มีบรรยากาศท่ีคุณค่ากับ ผู้รับบริการและคนทางาน เน้นงานควบคู่กับคน กลยุทธ์ของโรงพยาบาลใช้ภูมิปัญญา ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรมของชุมชนเป็นข้อมูล ในการวางแผน รวมท้ังประเมินส่ิงสัมผัสได้ เช่น การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเยียวยา การดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจแห่งความเป็นมนุษย์
Spiritual care นั้นนับว่ามีความสาคัญกับชีวิตของคนเรามาก จากการศึกษาของ Cobb & Robshaw ในปี 1998 กล่าวว่า เวลาท่ี คนไข้เผชิญหน้ากับช่วงที่เกิดภาวะ Spiritual crisis เช่น เผชิญกับโรคร้าย หรือภาวะที่ยากลาบากในชีวิต หรือ เกิด Chronic disease ท่ีค่อยๆ กัดกร่อนร่างกาย เขาจะเกิดความความรู้สึก need spiritual care ปัญหาของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข คือ เรามีจิตใจอ่อนโยน เพียงพอท่ีจะรับรู้ว่า คนไข้กาลังเผชิญกับภาวะ Spiritual crisis แค่ไหน ซึ่งเราจะรับรู้ได้ต่อเมื่อเราต้องเข้าใจภาวะ Spiritual aspect จึงจะสามารถ Provide Appropriate Spiritual Care ให้คนไข้ได้
Miller (1999) ได้ให้ความหมายคาว่า Spiritual crisis หรือ Spiritual aspect คือ deepest fears and aspirations เป็นสิ่งที่อยู่ลึก ที่สุดในจิตใจในภาวะท่ีมีหวาดกลัว เกิดภาวะโดดเดี่ยว ในยามที่เผชิญกับโรคร้าย และไม่มีความกล้าเพียงพอท่ีจะก้าวข้ามความกลัวอันนั้นไปได้ เพ่ือให้เกิด Aspiration แรงบันดาลใจท่ีเขาอยากรักษา สรพ.เองก็ได้เห็นความสาคัญของมิติ Spiritual โดย อ.ดวงสมร บุญผดุง และ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ได้ร่วมกันดาเนินการด้าน Spiritual เมื่อ 5-6 ปี ที่ผ่านมา ซ่ึงต้องทาความเข้าใจที่ถูกต้องกับ รพ.
เมื่อปีท่ีแล้วได้เข้าไปคุยกับพยาบาล ICU ท่ีดูแลคนไข้หนัก คุณยายคนหน่ึงมีแต่ความสิ้นหวังและไม่อยากรักษาอีกต่อไป ทีมพยาบาลก็เอา แบบสอบถาม 2Q/9Q เข้าไปประเมินก็รับรู้ว่าคุณยาย (คนไข้) อยากฆ่าตัวตาย นั่นคือ เกิดภาวะ Deepest fears ส่ิงท่ีพยาบาล ICU ตอบสนอง คือ พยายามหา Deepest aspirations คือส่ิงที่อยู่ลึกท่ีสุดท่ีจะสร้างแรงบันดาลใจที่จะมีชีวิตอยู่ต่อ จึงเข้าไปคุยกับคุณยาย (คนไข้) โดยการใช้ Surveys experience ให้คุณยาย (ผู้ป่วย) ได้อธิบาย (Describe) ออกมา จนรับรู้ได้ว่า คุณยายท่านน้ีต่อให้อยากตายเพียงไหนก็ยังห่วงหลานอยู่หนึ่งคน มีอายุประมาณ 10 ขวบ และระเบียบของ รพ.จะห้ามไม่ให้เด็กเข้าไปใน ICU พยาบาลจึงทาทุกอย่างเพื่อให้หลานคุณยายได้เข้ามาใน ICU และมา ในสถานการณ์ (Situation) ท่ีจะเข้ามาดูแลคุณยายท่านนี้ได้เพ่ือให้เป็นแรงบันดาลใจท่ีอยากจะหาย ครั้งแรกที่หลานเข้ามา คาแรกที่พูดกับคุณยาย (ผปู้ ว่ ย) วา่ “คณุ ยาย..เรากลบั บา้ นกนั ดกี วา่ รบี กนิ ขา้ ว รบี รกั ษา มะรนื หนจู ะมารบั ” เดก็ พดู คา นที้ กุ วนั จนคณุ ยายเกดิ Deepest aspirations สงิ่ ทอี่ ยู่ ลึกที่สุดที่อยากจะรักษา จนคุณยายอยากรักษาตัวเอง ด้วยการช่วยเหลือของพยาบาลจนคุณยาย (ผู้ป่วย) หายกลับไปดูแลตัวเอง ดูแลหลานท่ีบ้านได้
จากกรณีที่บุตรของคนไข้มาก้มกราบเท้าอาจารย์พงษ์สันต์ ท่ีได้ดูแลรักษาพ่อของเขาจนหายซึ่งในการรักษาผู้ป่วย Asthma ในภาวะวิกฤติน้ัน บางครั้งไม่ใช่เรื่องง่าย ความเป็นความตายมันเป็นเส้นยาแดง ในท่ัวๆ ไปก็จะพัฒนา protocal หรือทา care map มีการเก็บสถิติการรักษา เช่น จานวนคนไข้ใส่ tube หรือจานวน VAP มีเท่าไหร่ แต่ในยามที่คนไข้หรือญาติเกิดภาวะ Spiritual crisis หากได้รับการตอบสนองจากบุคลากร ทางการแพทย์ก็จะสามารถปรากฏความปิติดังเรื่องเล่าของอาจารย์พงษ์สันต์ ซึ่งจะเป็น rare case เพราะการท่ีมนุษย์จะกราบใครสักคนหนึ่งไม่ใช่ เรื่องง่าย นี่คือพลังแห่งความดีภายในจิตใจ ที่เรียกว่า Inner resource of healing จึงควรหันมาพัฒนาคนด้าน Spiritual ให้มากขึ้น ท่ีบางคร้ัง เราละเลยและมองข้ามในเร่ืองที่จะทาให้ผู้คนมีความปิติ ที่เป็นความสามารถที่จะให้ความหมายแก่ชีวิตและทุกส่ิง เป็นขุมพลังภายในเป็นเรื่องพลัง ของชีวิตท่ีถูกสร้างขึ้นมาเพ่ือจัดการกับงานที่อยู่รอบตัว
มี Model ที่ใช้สาหรับ รพ.ในการขับเคลื่อน Advance HA ด้วยวงล้อ 4 ด้าน เรียกว่า โรงพยาบาลคุณภาพ โรงพยาบาลคุณธรรม และโรงพยาบาลที่มีคุณค่าสาหรับทุกคน คือถ้าทาด้านที่ 1 คือ High Performance organization (HPO) จะทาให้ รพ. มีผลงานที่วัดได้ ในระดับสูง เรียกว่า “มีคุณภาพ” ด้านที่ 2 คือ High reliability organization (HRO) หมายถึงความมีคุณธรรม เป็นโรงพยาบาลท่ีน่าไว้วางใจ มีคุณธรรมในระดับสูง มีระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงท่ีดีจนเป็นแนวคิดที่บอกได้ว่าเราจะทาอย่างไร ให้จิตใจเรามี mindfulness เพียงพอท่ี จะดูแลคนไข้ให้ปลอดภัยดีท่ีสุดที่มนุษย์คนหนึ่งเอ้ือให้มนุษย์อีกคนหน่ึงที่อ่อนแอกว่าทาได้ แต่หาก รพ.มีการพัฒนาทั้ง 2 ด้านไปมากแค่ไหนก็ตาม
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 63