Page 202 - Bright spot ปี 2561
P. 202
202
BRIGHT SPOT
ี
ู
ว่ามนเป็นงานอาสานะ ไม่มค่าตอบแทนให้ เราอย่คนละกระทรวง
ั
ไม่สามารถส่งการเขาได้ เราก็ขอความร่วมมือเป็นอาสาสมัครและได้กุศล
ั
สูงแค่นั้น” นางจุลินทร กล่าว
ทั้งนี้ เมื่อสร้างความเข้าใจโน้มน้าวให้ชุมชนเห็นความส�าคัญได้แล้ว
อันดับต่อมาคือ ต้องอบรมอาสากู้ชีพในเบ้องต้นก่อนแล้วค่อยๆ ขยาย
ื
เครือข่าย จากอ�าเภอละ 1 ทีม เพิ่มเป็นต�าบลละ 1 ทีม ขยายผลและ
พัฒนาศักยภาพไปเรื่อยๆ จนปัจจุบันทุกคนเห็นความส�าคัญในเรื่องนี้
“ปัจจัยส�าคัญคือ เราต้องเห็นความส�าคัญของเขาก่อน วิธีการของ
เราคือไปอบรมให้ให้ทุกอย่าง อย่างทีมกู้ภัยเราก็เอามาเป็นทีมกู้ชีพด้วย
เดิมเขาไม่มีความรู้ด้านการแพทย์ เราก็ต้องเอาอบรมเป็นหน่วยกู้ชีพ
�
ี
ถามว่าเข้าถึงคนกลุ่มน้ยากไหม ก็ยากพอสมควร ต้องทางานแบบ
ไปไหนไปด้วย เขามีกิจกรรมเราก็ไปด้วย คือเอาเขามาเป็นพรรคพวกแล้ว
ิ
ก็พัฒนาอบรมโดยไม่หวังส่งตอบแทน ผลก็คือ สมัยก่อนช่วงปี 2548
นาส่งโดยรถพยาบาลน้อยมาก ขณะท่ในปี 2560 มีผู้ประสบอุบัติเหต ุ
ี
�
ี
�
กว่า 50,000 รายท่นาส่งโรงพยาบาลโดยหน่วยกู้ชีพ” นางจุลินทร กล่าว
ื
นพ.ไพบูลย์ กล่าวเพ่มเติมอีกว่า ในส่วนของการสร้างเครือข่ายเร่อง
ิ
ี
ื
Trauma สามารถแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ ในระดับพ้นท่เป็นการทางานร่วมกัน
�
ระหว่างโรงพยาบาล ท้องถิ่น และ รพ.สต. และอีกระดับหนึ่งคือ ระดับ
จังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เห็นความส�าคัญ ประกอบ
กับมีกฎหมายรับรองการจัดต้งหน่วยกู้ชีพของ อปท.ข้นมา ทาง อบจ.
ั
ึ