Page 240 - Bright spot ปี 2561
P. 240
240
BRIGHT SPOT
ขณะเดียวกัน กระบวนการส�าคัญคือ การคืนข้อมูลให้ชมรม อสม.
ี
ื
ี
ี
ได้ร่วมคิด ร่วมกาหนดรูปแบบ และร่วมเรียนรู้ในพ้นท่ไปกับทีมพ่เล้ยง
�
เพราะบางเรื่องหากสั่งการไปทั้งหมด อสม.ก็อาจไม่เห็นด้วย
“ถ้าเขาไม่ได้เป็นคนคิดเอง มันก็ไปได้ไม่สุด สมมติว่าจะพัฒนา อสม.
่
ั
�
ื
ื
ในเรองการส่อสาร ชมรม อสม.จังหวดอยากทาอะไร อยากให้ สสจ.
สนับสนุนอะไร ก็ให้เขาคิดข้นมาแล้วเรามาช่วยในเชิงวิชาการ อย่างเร่อง
ึ
ื
การพัฒนาทักษณะการใช้อินเทอร์เน็ต การใช้แอพพลิเคชั่นต่างๆ ก็เป็น
สิ่งที่เขาคิดขึ้นมา” นางสุวรรณี กล่าว
ี
�
นอกจากน้ ปัจจัยท่สาคัญท่สุดคือ การสร้างสัมพันธภาพ มีความจริงใจ
ี
ี
ไว้วางใจ และการให้เกียรติกันและกัน เพราะ อสม. ส่วนใหญ่การศึกษา
ไม่สูงนัก ส่วนใหญ่จบ ป.6-ม.3 ถ้าทีมพี่เลี้ยงให้เกียรติ ให้ความไว้วางใจ
จริงใจ มองเป็นเพ่อนร่วมงาน และให้คุณค่าเขาในแต่ละกิจกรรมท ่ ี
ื
ร่วมงานกันก็จะท�าให้ อสม.ยอมรับ และเมื่อมีมิตรภาพที่ดีต่อกันก็ท�าให้
ท�างานได้ง่าย
�
ั
นางสุวรรณี ต้งข้อสังเกตท้งท้ายว่า จากประสบการณ์ทางานกับ อสม.
ิ
ที่ผ่านมา พบว่า หากอ�าเภอไหนที่ผู้น�า อสม.มีการสื่อสารได้ดี งานก็จะ
เดินไปได้เร็ว และอีกส่วนท่สาคัญคือ ฝั่งเจ้าหน้าท่สาธารณสุขในพ้นท่เอง
ี
ื
ี
ี
�
ซึ่งนอกจาก Approach ผ่านชมรม อสม.แล้ว ทีม สสจ.ยัง Approach
ี
ื
ี
ผ่านเครือข่ายสาธารณสุขในพ้นท่ด้วย ความยากคือ ถ้าพ้นท่ไหนไม่ชอบ
ื
ี
งานลักษณะน้ หรือไม่อินไปด้วย งานเครือข่ายก็จะเดินไปได้ยาก