Page 13 - C:\Users\wasan\Desktop\วารสาร PDF\
P. 13

ธรรมะกับชีวิตประจ าวัน : เปลี่ยนความคิด ชีวิตเปลี่ยน


        “เราคือนวัตกรรมจากความประพฤติซ ้า ๆ ของตัวเอง ดังนั น จงระวังความคิด (ลบ) มันจะกลายเป็น

           การกระท้า จงระวังการกระท้า มันจะกลายเป็นนิสัย จงระวังนิสัย มันจะกลายเป็นบุคลิกภาพ”


                ทุกสิ่งที่เราคิด พูด ท า หรือสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นมา   “กระบวนการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ นจาก ‘การเรียนรู้’ เพราะ

      ล้วนมีผลกระทบต่อผู้อน ดังนั้น ไม่ว่าจะท าอะไรก็ตาม ต้องนึกถึง  ความรู้จะช่วยให้เกิด ‘ความเชื่อ’ หรือความศรัทธาใน
                        ื่
      อกเขาอกเรา เพราะโดยธรรมชาติแล้ว มนุษย์ล้วนต้องการเสพ     ศักยภาพของตนเอง จากนั นความเชื่อจะช่วยให้เกิดเป็น
      สิ่งดี มีคุณภาพ เลิศหรูกันทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นอาหารอร่อยๆ   ‘แรงจูงใจ’ ใฝ่กระท้า” ดังเช่น เด็กนักเรียนคนหนึ่งอยากเรียนเก่ง แต่

                                                        ่
                                                       ่
      เครื่องเสียงดีๆ มือถือรุ่นใหม่สุดจ๊าบ จนถึงบ้านหลังโตโออา  ไม่เคยอ่านหนังสือสักเล่ม หรือหญิงสาวอ้วนตุ๊ต๊ะที่ปรารถนาเรือน
      ตั้งอยู่บนท าเลทอง ผลผลิตหรือนวัตกรรมเหล่านี้ ไม่สามารถ  ร่างทรงเสน่ห์ แต่ยังไม่ทิ้งนิสัยกินตลอดเวลา ทั้งสองคนนี้คงไปได้
      ย้อมแมวขายกันได้ในระยะยาว สังเกตง่ายๆก็คือ “ของดี         ไม่ถึงฝัน หากไม่ปรับเปลี่ยนตัวเอง เช่นเดียวกับคนที่อยากร่ ารวย
                                           ิ
      มีคุณภาพ ของจริงของแท้ ต้องทนต่อการพสูจน์ และทนต่อ       เป็นเศรษฐี แทนที่จะมุมานะท างาน เก็บออมสะสมทรัพย์สิน
      กาลเวลา”เฉกเช่นหลักธรรมค าสอนทางพทธศาสนา ที่ยืนยง        แต่กลับใช้ชีวิตแบบชนิดที่ต้องมานั่งจ่ายหนี้บัตรเครดิตตลอดเวลา
                                         ุ
      มาอย่างยาวนาน เพราะทนทานต่อการพสูจน์ นับตั้งแต่          เพราะไม่ยับยั้งชั่งใจในการใช้จ่าย แบบนี้บันไดเศรษฐีคงไม่ทอด
                                            ิ
           ุ
      พระพทธเจ้าตรัสรู้กฎแห่งธรรมชาติที่ใต้ต้นโพธิ์ แก่นแท้ของ  มาหา และโปรดอย่าเชื่อและมั่นใจตัวเองเกินไปนัก เพราะหากสิ่ง
      ธรรมทั้งหมดก็คือ “การดับทุกข์” ภาษาพระเรียกว่า   “อริยสัจสี่”   ที่เราเคยท ามาตลอดมันถูกต้อง ป่านนี้มันคงส าเร็จไปแล้ว
                ใจความก็คือ “ถ้าดับทุกข์ได้  เราก็จ ะม   ี     ความศรัทธาเชื่อมั่นในตัวเองเป็นสิ่งดี ยกเวนแต่เราจะเชื่อมน
                                                                                                    ้
                                                                                                                   ั่
      ความสุข” พระพทธองค์ทรงชี้บอกหนทางแห่งการดับทุกข์         ในสิ่งผิด แล้วตัวเองก็หลงไปยึดติดถือมั่นกับความเชื่อนั้นอย่าง
                     ุ
        ื่
      เพอให้เราเปลื้องตนออกจากความทุกข์ ไม่ใช่ให้เราจมจ่อมแช่  ไมลืมหูลืมตา ครั้น “เมอเหตุผิด...ผลย่อมผิด” ตามไปด้วยเป็นธรรมดา
                                                                                 ื่
                                                                 ่
      อยู่กับความทุกข์ หรือยอมจ านนกับโชคชะตา โดยข้อปฏิบัติ
      เบื้องต้นง่ายๆ ก็คือ “หาสาเหตุแห่งทุกข์ให้เจอ” ซึ่งสอดคล้อง

      กับที่นักจิตวิทยาสมัยใหม่เชื่อว่า...                                  มเรื่องเล่าต่อกันมาเป็นโจ๊กข าขันที่ “แฟรงก์ โคช”
                                                                          ี
      “อยากเปลี่ยนผลลัพธ์ ก็ต้องเปลี่ยนสาเหตุให้ได้              เขียนไว้ในวารสารของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ดังนี้...
                                                                                                           ั
      นั่นเพราะเหตุเปลี่ยน...ผลย่อมเปลี่ยน                                  ในคืนเดือนมืด ท่ามกลางมหาสมุทรอนเวิ้งว้าง
      อยากเปลี่ยนชีวิต ก็ต้องเปลี่ยนความคิดให้ได้                เรือรบสองล าถูกมอบหมายให้ซ้อมรบในทะเล ซึ่งมีพายุโหม
      นั่นเพราะเปลี่ยนความคิด...ชีวิตเปลี่ยน”                    กระหน่ ารุนแรงนานหลายวัน บนเรือมีผู้บังคับบัญชาคอยเฝ้า
                                                                 สังเกตอยู่บนหอบังคับการอย่างแข็งขันตอนนี้เป็นเวลาพลบค่ า
                เราไม่อาจเปลี่ยนคนภายนอกได้ตราบใดที่ยังไม่       เนื่องจากทัศนวิสัยไม่ค่อยแจ่มชัดนัก เพราะเต็มไปด้วยม่าน
      สามารถเปลี่ยนคนที่อยู่ภายในตัวเองบุคลิกภาพเป็นตัวตน        หมอกที่ลงจัด

      ภายนอก ความคิดเป็นตัวตนภายใน ดังที่ “ไอน์สไตน์” กล่าวไว้
                                                                                                              ื่
      ว่า “คนโง่หรือคนบ้าเท่านั้น  ที่มัวเสียเวลาท้าซ้้าๆ  ด้วยวิธีการ              ดังนั้น กัปตันจึงต้องอยู่บนหอบังคับการ เพอคอย

      เดิมๆโดยหวังว่ามันจะให้ผลลัพธ์ที่ต่างออกไป”                สังเกตเหตุการณ์ต่าง ๆที่จะเกิดขึ้น  ขณะที่เรือแล่นฝ่าเกลียวคลื่น
                ธรรมชาติสอนเราอยู่เสมอด้วยวิธีง่ายๆ เพียงแค่เปิดใจ  จู่ ๆ เสียงยามรักษาการณ์ก็รายงานขึ้นว่า “มีแสงมาจาก
      สังเกต เช่น ปลูกต้นมะม่วง ผลมันก็ต้องเป็นมะม่วง เป็นไปไม่ได้  ทิศทางกราบขวาของหัวเรือครับ” กัปตันถามไปว่า “มันมุ่งมา
                                                                                                 ุ่
      เลยที่ผลจะออกมาเป็นเงาะ  ทุเรียน  หรือล าไย  ฉะนั้น            ข้างหน้าหรือถอยไปข้างหลัง”“มันพงตรงมาทางเรา” ยาม
                                                       ั
      หากต้องการเปลี่ยนผลลัพธ์ในชีวิต  เราก็ต้องเปลี่ยนเมล็ดพนธุ์  รักษาการณ์ตอบ “ดูเหมือนมันก้าลังจะชนเรือของเราครับ” กัปตัน
              ี่
      ความคิดทอยู่ภายในตัวเรา                                    จึงออกค าสั่ง ด้วยเสียงเฉียบขาด  “ให้ส่งสัญญาณบอกเรือล้าที่มี
                กระบวนการเปลี่ยนนั้นต้องประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ    แสงนั้น ให้เปลี่ยนทิศทาง 20 องศา”แต่กลับได้รับสัญญาณตอบ
      หลายส่วนร่วมกัน ดังที่ “ทะไล ลามะ องค์ที่ 14” พระผู้เป็นดุจ  กลับมาว่า ให้เรือของกัปตันเปลี่ยนทิศทาง 20 องศาแทน


      มหาสมุทรแห่งปัญญาของชาวทิเบต กล่าวไว้ว่า
                                                                                        ี
                                                          วารสารศาลเยาวชนฯจังหวัดสุพรรณบุร กรกฎาคม – กันยายน 2563    11
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18