Page 27 - KM Master Plan 2564
P. 27
1.2.4 สถานการณ์การระบาดของไวรัส COVID-19
ข้อมูลจากเว็บไซต์ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ระบุว่า ไวรัสโคโรนา
(Coronavirus) เป็นไวรัสที่ถูกพบครั้งแรกในปี 1960 แต่ยังไม่ทราบแหล่งที่มาอย่างชัดเจนว่ามาจากที่ใด แต่
เป็นไวรัสที่สามารถติดเชื้อได้ทั้งในมนุษย์และสัตว์ ปัจจุบันมีการค้นพบไวรัสสายพันธุ์นี้แล้วทั้งหมด 6 สายพันธุ์
ั
ั
ั
ส่วนสายพนธุ์ที่ก าลังแพร่ระบาดหนักทั่วโลกตอนนี้เป็นสายพนธุ์ที่ยังไม่เคยพบมาก่อน คือ สายพนธุ์ที่ 7 จึงถูก
ิ
่
เรียกว่าเป็น “ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม” และในภายหลังถูกตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า “โควด-19”
(COVID-19) อาการของไวรัสโควิด-19 ที่สังเกตได้ง่ายๆ ด้วยตัวเอง คือ มีไข้ เจ็บคอ ไอแห้งๆ น้ ามูกไหล
หายใจเหนื่อยหอบ
ภายหลังจากสถานการณ์โควิด-19 จะมีการเปลี่ยนแปลง และจะส่งผลต่อรูปแบบการท างาน การท า
ธุรกิจ การติดต่อสื่อสาร การเรียนการสอน ทัศนคติ การเปลี่ยนแปลงที่ว่าจึงท าให้เกิดค าเรียกใหม่ว่า New
Normal หรือ ความปกติในรูปแบบใหม่ หมายถึง พฤติกรรมของผู้คนในสังคมที่ก าลังเปลี่ยนแปลงไปหลังจาก
เกิดเหตุการณ์ส าคัญ เช่น 1) ธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง 2) Work from home และ Learn from
ุ
home 3) รูปแบบการติดต่อธุรกิจ 4) การปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางอตสาหกรรม 5) พฤติกรรมผู้บริโภค 6)
ี
ธุรกิจท่องเที่ยว และบริการ 7) อคอมเมิร์ซ ก าลังเข้ามาทดแทนเต็มรูปแบบ 8) คอนเท้นต์ สตรีมมิ่ง บน
ออนไลน์ 9) การจับโอกาสใหม่ เช่น ธุรกิจสุขภาพ
การวิเคราะห์และสรุปประเด็นความเชื่อมโยงของสถานการณ์การระบาดของไวรัส COVID-19
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัส COVID-19 ธสน.มีการปรับเปลี่ยนแนวทางการด าเนินธุรกิจ
ื่
รวมถึงวิถีการท างานในรูปแบบใหม่เพอรองรับกับการเปลี่ยนแปลง ในวิกฤตินี้ก่อให้เกิดองค์ความรู้ในหลาย
ประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรู้ที่ได้จากการปรับปรุงกระบวนการ หรือผลิตภัณฑ์ ในช่วงสถานการณ์
COVID-19 มีการประมวลความรู้และจัดท าเป็นเอกสารในรูปแบบที่สืบค้นได้ง่าย และจัดเก็บเข้าใน KM Portal
ของธนาคาร เพื่อการสืบค้น น าไปต่อยอดในการท างาน ซึ่งเป็นไปตามหลักการการจัดการความรู้ มีการส่งเสริม
บรรยากาศของการเรียนรู้และแบ่งปันประสบการณ์ให้เกิดขึ้นทั่วทั้งองค์กร
นอกจากนี้ แนวทางการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ในปี 2564 ยังก าหนดให้มีการจัดเก็บองค์
ความรู้เกี่ยวกับ New Normal ที่มีความเชื่อมโยงและส่งเสริมการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น
เทคโนโลยีที่สนับสนุนการท างาน นโยบายทางเศรษฐกิจที่ปรับเปลี่ยนในช่วงโควิด-19 ผลกระทบทางเศรฐกิจ
ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นต้น
26