Page 28 - KM Master Plan 2564
P. 28
ู
่
2. การวิเคราะห์ข้อมลเพื่อจัดท ากลยุทธ์การจัดการความรู้ และแผนแมบทการจัดการความรู้ พ.ศ. 2564 – 2568
2.1 จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของการจัดการความรู้ (KM SWOT)
การประเมินตนเองโดยใช้ SWOT Analysis ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ของธสน.
จุดแข็ง จุดอ่อน
o มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการสร้างเครือข่ายภาครัฐ o การเข้าถึงองค์ความรู้ภายนอกเพื่อให้ได้ความรู้ที่ต้องการ
และภาคเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นไปได้ยาก
o มีบุคลากรที่มีองค์ความรู้ด้านสินเชื่อเพื่อการส่งออกและการ o ผู้บริหาร/พนักงานยังไม่ให้ความส าคัญกับการจัดการความรู้
ลงทุนในต่างประเทศเป็นรายอุตสาหกรรม เนื่องจากเห็นว่าเป็นภาระและเป็นเรื่องไกลตัวยังไม่เห็น
o มีบุคลากรที่มีประสบการณ์วิเคราะห์และองค์ความรู้เชิงลึกใน ประโยชน์ที่ชัดเจน มีภารกิจตาม KPI ที่ค่อนข้างมาก และต้อง
การสนับสนุนการลงทุนในประเทศตลาดใหม่ ปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมาย
ั
่
o มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการให้บริการรบประกันการ o ยังไม่ได้รับการสนับสนุนเชิงนโยบาย เชน การน าเรื่องการ
ส่งออกและการลงทุน เนื่องจากเป็นธนาคารแห่งเดียวใน จัดการความรู้เป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPI) และ/หรือ
ประเทศไทยที่สามารถให้บริการรับประกันการส่งออกและการ เป็นปัจจัยพิจารณาความก้าวหน้าในสายอาชีพอย่างเป็นระบบ
ลงทุนในต่างประเทศได้ ทั่วทั้งองค์กร
o มีส านักงานผู้แทนในทุกประเทศ CLMV o เนื่องจากงานพัฒนาองค์ความรู้และส่งเสริมการเรียนรู้ทั้ง
องค์กรเป็นเรื่องยากในการบริหารผลลัพธ์ ต้องใช้เวลาและต้อง
อาศัยการประสานความร่วมมือจากทุกหน่วยงานจึงไม่สามารถ
เห็นผลส าเรจได้ในระยะเวลาอันสั้น
็
โอกาส อุปสรรค
o บุคลากรที่มีความพร้อมต่อการด ารงต าแหน่งส าคัญยังไม่ o ความรู้สมัยใหม่ที่เกิดขึ้นทั่วโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่าง
เพียงพอต่อการเกษียณอายุของผู้บริหารระดับสูงและระดับ รวดเร็ว ประกอบกับคนรุ่นใหม่มีความต้องการความรู้ที่ตรงกับ
ฝ่าย ความต้องการ ในรูปแบบที่เข้าถึงและเข้าใจได้ง่าย และสนใจหา
o ระบบ Social Media และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามี ข้อมูลความรู้ใหม่ๆ กระบวนการจัดการความรู้จึงต้องอาศัย
บทบาทมากขึ้น เป็นโอกาสให้สามารถเผยแพร่องค์ความรู้และ ความรวดเร็วในการสรรหา พัฒนาและต่อยอดการน าองค ์
กิจกรรมการเรียนรู้ได้กว้างขวางมากขึ้น ความรู้มาใช้ประโยชน์ให้ตรงกับความต้องการที่หลากหลายของ
o การแข่งขันของธุรกิจในอนาคต จะต้องการองค์ความรู้และ กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ได้อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
ความคิดสร้างสรรค์มาเป็นปัจจัยแห่งความส าเร็จมากขึ้น o พนักงานรุ่นใหม่มีพฤติกรรมค้นหาความรู้จาก อินเทอร์เน็ต
o นโยบายการพัฒนาประเทศให้ความส าคัญกับการพัฒนา เนื่องจากมีความหลากหลาย สะดวก เข้าถึงง่าย
ศักยภาพคน อีกทั้งระบบการประเมินผลการด าเนินงาน o ข้อจ ากัดด้านบุคลากรในฝ่ายงานที่รับผิดชอบซึ่งอยู่ในสาย
รัฐวิสาหกิจใหม่ (SE-AM) ก าหนดให้การจัดการความรู้เป็นอีก สนับสนุน ท าให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้บ่อยครั้ง
หนึ่งด้านของการประเมินผล และครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกสาขาในเชิงกายภาพ
o ผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ท าให้ o การบูรณาการงานเพื่อต่อยอดความรู้ซึ่งเป็นผลสัมฤทธิ์ของการ
หน่วยงานต่างๆ ต้องปรับกระบวนการท างานและวิธีการ จัดการความรู้มีความซับซ้อน เนื่องจากการจัดการความรู้ของธ
ปฏิบัติงาน เพื่อรองรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ท าให้เกิดองค ์ สน.ยังอยู่ในระยะเริ่มต้น
ความรู้/แนวทางปรับปรุงกระบวนการ
27