Page 29 - KM Master Plan 2021
P. 29
2.2 วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ (KM Vision)
ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคาร ครั้งที่ 15/2563 เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2563 เห็นชอบวิสัยทัศน์
ทิศทางการด าเนินงาน นโยบาย และเป้าหมายการจัดการความรู้ ดังนี้
“เป็นองค์กรที่ใช้กระบวนการจัดการความรู้ ด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศของ
ไทยมาเป็นส่วนส าคัญในการพัฒนาบุคลากรและผู้ประกอบการให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้”
2.3 ทิศทางและนโยบายด้านการจัดการความรู้
o ทิศทาง :
ธสน.มุ่งจัดการความรู้เพอเป็นรากฐานทางด้านข้อมูลและสารสนเทศในการพฒนาระบบการ
ื่
ั
บริหารจัดการทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการก าหนดทิศทางขององค์กร การวางแผนกลยุทธ์ การก าหนดแนว
ทางการพฒนาบุคลากรทางการจัดการความรู้ และการปรับปรุงกระบวนการท างาน เพอให้ธสน. มีแนวทาง
ั
ื่
ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน
o นโยบาย :
ี
1) ผู้บริหารทุกระดับมส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการจัดการความรู้ โดยการเป็นแบบอย่างที่ดี
่
ั
ให้แกบุคลากรในการสร้างวฒนธรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีบทบาทในการกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจทั้งที่
เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อให้มีการน าการจัดการความรู้ไปใช้พัฒนาการท างานของสายงาน
2) กลยุทธ์และแผนงานด้านการจัดการความรู้มีความเชื่อมโยงกับวสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และ
ิ
แผนงานที่ส าคัญต่างๆ ขององค์กร มีระบบติดตามประเมินผลการด าเนินงาน ตลอดจนมีหลักเกณฑ์ แนวทาง
ื่
ในการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร และระบบสนับสนุนอนๆ ครอบคลุมการด าเนินงานการจัดการความรู้ที่
ส าคัญ
3) ผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สื่อสาร สร้างความรู้ความเข้าใจ ให้บุคลากรตระหนักถึง
ความส าคัญของการจัดการความรู้ กระตุ้นให้กล้าคิดกล้าท า และสร้างสรรค์สิ่งใหม่อย่างต่อเนื่องโดยสร้าง
ื่
ื้
สภาพแวดล้อมในการท างานที่เออต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และความร่วมมือของบุคลากรทั่วทั้งองค์กรเพอ
น าไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
ื่
4) กระบวนการจัดการความรู้ได้รับการสื่อสารไปยังบุคลากรทุกระดับ เพอให้เข้าใจและน าไป
ปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริง โดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ให้มี
ี
ประสิทธิภาพ ง่ายต่อการสืบค้น และการน าไปใช้ อกทั้งมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้/สารสนเทศกับ
่
หน่วยงานภายนอก เพื่อน าสารสนเทศ/องค์ความรู้ที่ได้มาสร้างคุณค่าให้แกองค์กร
ื
5) หน่วยงานมีการใช้เครื่องมอในการปรับปรุงกระบวนการต่างๆ และใช้การจัดการความรู้ใน
การพฒนา ปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้นทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ รวมถึงเป็นส่วนหนึ่งที่
ั
จะช่วยลดความเสี่ยง/ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน
28