Page 14 - รายงานประจำปี
P. 14

6

                                                            ื้
                                                               ี่
                                                                                                        ึ
                                                                                                     ั่
               บุคลากรทางการแพทยการพยาบาล ใหกระจายไปยังพนทตาง ๆ เพื่อใหสามารถดูแลประชาชนไดอยางทวถง การ
               พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพใหครอบคลุมผูมีรายไดนอย ใหไดรับบริการที่ไมมีความเหลื่อมล้ำในดานคุณภาพ
               รวมทั้งระบบคุมครองการรักษาพยาบาลตอการเจ็บปวยที่สรางภาระทางการเงินโดยไมคาดคิดหรือเกินขีด
               ความสามารถของผูมีรายไดนอย สนับสนุนสงเสริมใหสังคมเขามามีสวนรวมในการสรางเสริมสุขภาพ รวมถึงการ
               พัฒนาสถานพยาบาลใหมีคุณภาพและมีสัดสวนแพทยตอประชากรตามมาตรฐานสากลในทกพื้นที่ และสงเสริมการ
                                                                                          ุ
               ใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการใหบริการสาธารณสุข ตลอดจนการรองรับสังคมสูงวัยอยางมีคุณภาพ โดยเตรียมความ

               พรอมในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และสภาพแวดลอม โดยเฉพาะการออมและการลงทุนระยะยาว
               ของคนตั้งแตกอนเกษียณอายุ พัฒนาระบบและกลไกเพื่อสนับสนุนการปรับตัวของประชากรใหสามารถ
               ปรับเปลี่ยนอาชีพใหเหมาะสมตามชวงวัย และสงเสริมการสรางสรรคเทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการสงเสริม

               และฟนฟูศักยภาพผูสูงอายุ สงเสริมใหผูสูงอายุมีกิจกรรมทำตอเนื่อง ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ
                           ยุทธศาสตรดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การพัฒนา
                              
               ยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิงแวดลอม ดำเนินการบนพื้นฐานความเชือ
                                                                                                            ่
                                                                          ่
                                                                                                            ั
               ในการเติบโตรวมกัน ใหความสำคญกับการสรางสมดุลทง 3 ดาน คือ เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และคุณภาพชีวิต อน
                                           ั
                                                             ั้
               จะนำไปสูความยั่งยืนเพื่อคนรุนตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาดานสาธารณสุข จะตองมีการยกระดบ
                                                                                                            ั
               ความสามารถในการปองกันโรคอุบัติใหมและอุบัติซ้ำ สรางระบบรับมือ ปรับตัว และควบคุมการแพรระบาดของ
                                                                                                            
               โรคเหลานี้ โดยศึกษาวิจัยสรางองคความรูดานการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรคในประชากรทุกกลุม
               โดยเฉพาะกลุมเปราะบาง เพิ่มขีดความสามารถในการติดตาม วิเคราะหและประเมินแนวโนมสถานการณปญหา
                                                                                      ุ
               โรคอุบัติใหมและอุบัติซ้ำและสรางความพรอมของภาคีเครือขายในการรับมือกับภาวะฉกเฉินจากโรคระบาดตาง ๆ

                       2.1.2 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ
                                                                       2
                                   ่
                        ประเด็นที 13 การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี1
                       แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น (13) การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะทีดี การเสริมสรางให
                                                                                             ่
                                     
                                                                                                   ี
                                                                            ุ
                                               ื่
                                                                                                    ั
               คนไทยมีสุขภาวะที่ดี มีวัตถุประสงคเพอเสริมสรางการจัดการสุขภาวะในทกรูปแบบอันจะนำไปสูการมศกยภาพใน
               การจัดการสุขภาวะที่ดีไดดวยตนเอง ควบคูไปกับการสนับสนุนใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการสรางเสริมสุขภาวะ
               ใหมีทักษะดานสุขภาวะที่เหมาะสม มีความรอบรูดานสุขภาพ และรวมกันสงเสริมและพัฒนาระบบบริการสุขภาพท ี่
               ทันสมัยสงผลใหเกิดการกระจายบริการสาธารณสุขอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ และสามารถพัฒนาและสรางระบบ
               รับมือ ปรับตัวตอโรคอุบัติใหมและโรคอุบัติซ้ำที่เกดจากการเปลี่ยนแปลงภูมอากาศไดอยางเต็มประสิทธิภาพ โดยม ี
                                                                             ิ
                                                        ิ
               เปาหมายระดับประเด็นที่กำหนดใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้นและมีความเปนอยูดีเพิ่มขึ้น
                       แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็นที่ 13 การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี ประกอบดวย 5
               เปาหมายระดับแผนแมบทยอย





               2  สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจและสังคมแหงชาติ. แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น (13) การ เสริมสรางใหคน
                                        ิ
               ไทยมีสุขภาวะที่ดี [อินเทอรเน็ต] สืบคนเมื่อ [1 ตุลาคม 2564]. เขาถงไดจาก:  http://nscr.nesdc.go.th/nesdc_uat/wp-
                                                              
                                                                ึ
               content/uploads/2021/02/NS-13_450-471_040264-14.53.pdf
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19