Page 15 - รายงานประจำปี
P. 15

7

                          •  แผนแมบทยอย การสรางความรอบรูดานสุขภาวะและการปองกันและควบคุมปจจัยเสี่ยงท   ี ่

               คุกคามสุขภาวะ
                              กำหนดเปาหมาย 130101 ใหประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาวะ สามารถดูแลสุขภาพ ม      ี
               พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค และสามารถปองกันและลดโรคที่สามารถปองกันได เกิดเปนสังคมบมเพาะ
                                                                                                            ้
               จิตสำนึกการมีสุขภาพดีสูงขึ้น นำไปสูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในระยะยาว โดยหนวยงานที่เกี่ยวของรวมทง
                                                                                                            ั
               กรมอนามัยในฐานะผูประสานงานหลัก จำเปนตองบูรณาการการดำเนินงาน เนนการปรับใชภาษาที่ประชาชน
               เขาใจไดงาย รวมทั้งพัฒนาและกำหนดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธที่สอดคลองกับบริบทของเทคโนโลยีในปจจุบันให
               มากขึ้น อาทิ Social Media และ AI Chatbot ที่เปนมิตรกับกลุมประชากรทุกกลุม ยกระดับความสามารถของ
               บุคลากร และหนวยงานในทองถิ่นในการเผยแพร จัดเก็บ และคัดกรองขอมูลในชุมชน นอกจากนี้ สนับสนุนใหม ี

               การจัดตั้งศูนยเฝาระวังและตอบโตความเสี่ยงเพื่อเพิ่มความรอบรูดานสุขภาพ หรือสาสุขชัวร (Risk Response For
               Health Literacy Center: RRHL) เพื่อตอบสนองตอขอมูลอันเปนเท็จและสรางเครือขายการรับรูขอมูลทาง
               สุขภาพที่ถูกตองในวงกวาง โดยการดำเนินงานของศูนยดังกลาวควรตั้งอยูบนพื้นฐานของความยืดหยุนในการ
               ประสานงานรวมกับภาคีเครือขาย
                          •  แผนแมบทยอย การใชชุมชนเปนฐานรากในการสรางสภาพแวดลอมทีเอื้อตอการมีสขภาวะที่ดี
                                                                                                    ุ
                                                                                     
                             กำหนดเปาหมาย 130201 จำนวนชุมชนสุขภาพดีเพิ่มขึ้น โดยพิจารณาการขยายจำนวน

               หนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิใหครอบคลุมทั่วประเทศในฐานะตัวชี้วัดเปรียบเทียบ
               กับอัตราการนอนโรงพยาบาลโดยไมจำเปนดวยภาวะที่ควรควบคุมดวยบริการผูปวยนอกลดลงการพัฒนา
                                                                                        
               ระบบสุขภาพชุมชน เนนสงเสริมการจัดอบรมสุขภาพปฐมภูมิของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขสำหรับ อส
               ม. และอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ (อสรจ.) เพื่อเพิ่มพูนความรูดานสุขภาพ ใหเกิดความเชี่ยวชาญและทำหนาท ี่
               สนับสนุนแพทยเวชศาสตรครอบครัวไดอยางเต็มประสิทธิภาพ เนนการดำเนินการเพื่อบูรณาการประเมินคุณภาพ

               และมาตรฐานของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิอยางเปนระบบ เพื่อยกระดับคุณภาพ
               ของหนวยบริการสุขภาพปฐมภูมิในพื้นที่ใหมีความแตกตางนอยที่สุดตลอดจนเรงรัดการจัดทำระบบยืนยันตัวตน
               ดิจิทัล (Digital ID) และ Health Information Exchange (HIE) Platform เพื่อจัดการขอมูลดานสุขภาพของ

               ผูรับบริการ และการเขาถึงขอมูลของแพทยเวชศาสตรครอบครัวรวมทั้งจัดทำระบบขอมูลการใหบริการสุขภาพ
               ปฐมภูมิที่เชื่อมโยงกัน
                          •  แผนแมบทยอย การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสรางสุขภาวะที่ดี

                                                                                                            ุ
                              กำหนดเปาหมาย 130301 ประเทศไทยมีระบบสาธารณสุขที่ไดมาตรฐานที่ประชาชนทก
               ระดับเขาถึงไดดีขึ้น ตองมีการผลิตบุคลากรทางการแพทยและจัดหาอุปกรณทางการแพทยใหเพียงพอและ
               ครอบคลุมทั่วประเทศ โดยกระจายไปยังทุกภูมิภาคใหมากขึ้น และหนวยงานภาครัฐรวมถึงหนวยงานที่เกี่ยวของ
                                                                                  ั้
                                 ิ
               จำเปนตองเรงรัดใหเกดการบูรณาการฐานขอมูลระหวางหนวยงานใหมากขนอกทงยังตองพิจารณาถึงประเด็นเรื่อง
                                                   
                                                                             ึ้
                                                                               ี
               ความปลอดภัยของฐานขอมูลเปนวาระเรงดวน เนื่องจากปจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลมีความกาวหนาและพัฒนาอยู 
               ตลอดเวลา ดังนั้น บุคลากรและหนวยงานที่รับผิดชอบตองมีองคความรูและตระหนักถึงความสำคัญของความ
               มั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร (Cyber Security) โดยมีการวางแผนรับมือและมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20