Page 20 - รายงานประจำปี
P. 20

12

                                                              5
                       2.1.4 แผนการปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุข4
                       แผนการปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุขมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ดานการพัฒนาและ

                                                                                       ั
               เสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ดานการสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกนทางสังคม ดานการสราง
               การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
               และแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิตและประเด็นการเสริมสรางให
               คนไทยมีสุขภาวะที่ดี โดยมุงหวังใหประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาวะสามารถดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพท ี่

               พึงประสงค และสามารถปองกันและลดโรคที่สามารถปองกันได โรคอุบัติใหมและโรคอุบัติซ้ำ เกิดเปนสังคมบม
               เพาะจิตสำนึกการมีสุขภาพดีสูงขึ้น มีระบบสาธารณสุขที่ไดมาตรฐานที่ประชากรทุกระดับเขาถึงไดดีขึ้น ลดความ
               เหลื่อมล้ำ โดยมีกิจกรรมปฏิรูป ดังนี้


                                                                                          ุ
                         กิจกรรมปฏิรูปที่ 1 การปฏิรูปการจัดการภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสข รวมถึงโรคระบาด
                                                                                                            
               ระดับชาติและโรคอุบัติใหม เพื่อความมั่นคงแหงชาติดานสุขภาพ ภัยจากการระบาดใหญของโรคติดตอ
               โรคติดตออันตราย และโรคติดตออุบัติใหมเปนภัยดานความมั่นคงที่เกิดขึ้นบอยครั้งมากและหากบริหารจัดการไมดี
                                                                                                            
                                                                                                            ึ่
               สามารถกอใหเกิดผลกระทบประเทศในดานตาง ๆ ได  อาทิ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซง
               นอกจากจะมีผลกระทบตอสุขภาวะของประชาชนอยางกวางขวางแลว ยังเปนภัยคุกคามที่สำคัญตอความมั่นคง
               แหงชาติ ดานเศรษฐกิจ และดานสังคมจิตวิทยา และเปนภัยคุกคามตอโอกาสในการเจริญกาวหนาของประเทศ
                                                                                    ่
               อยางรุนแรง ฉะนั้นภาครัฐตองทบทวนและออกแบบโครงสรางการทำงานความมนคงดานสุขภาพ พัฒนาระบบ
                                                                                    ั
               การเงินและงบประมาณของประเทศ การจัดสรรวงเงินงบประมาณในกรอบของความมั่นคงดานสุขภาพ ระบบ
               หลักประกันสุขภาพ รวมทั้งการพัฒนาและจัดหาวัคซีน ยา เวชภัณฑ และอุปกรณทางการแพทยและสาธารณสุข
               และการจัดทำแผนบูรณาการเพื่อการจัดการภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุขและความมั่นคงดานสุขภาพของประเทศ
                         กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การปฏิรูปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการสรางเสริมสุขภาพ

               ความรอบรูดานสุขภาพ การปองกันและดูแลรักษาโรคไมติดตอสำหรับประชาชนและผูปวย ภาครัฐมุงเนนการ
               พัฒนาสถานที่ทำงานทั้งภาครัฐและเอกชน เปนองคกรแหงความรอบรูดานสุขภาพ ระบบหลักประกันสุขภาพ
                                                                             ึ่
                                 ี
               ภาครัฐของประเทศมชุดสิทธิประโยชนฺที่เนนรูปแบบบริการ เชิงนวัตกรรมซงรวมถงมาตรการในการบูรณาการการ
                                                                                   ึ
                                                                                                            ื้
               สรางเสริมสุขภาพ ความรอบรูดานสุขภาพ การปองกันโรค ระบบขอมูลสุขภาพที่มีบูรณาการและมีมาตรฐาน ที่เออ
                                                                                                            
               ตอการสรางความรอบรูและแนวทางการปฏิบัติตนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูปวยและผูเสี่ยงโรคไมติดตอ
               และเชื่อมโยงกับขอมูลสุขภาพสวนบุคคล (personal health record) ผานการสื่อสารที่ทันสมัย พรอมกบ
                                                                                                           ั
               เทคโนโลยีดิจิทัลและอุปกรณดจิทัลสวนบุคคล เพื่อเสริมสรางความรอบรูดานสุขภาพ การสรางเสริมสุขภาพ และ
                                         ิ
               ปองกันโรครวมทั้งการเขาถึงบริการรักษาพยาบาล
                         กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การปฏิรูประบบบริการสุขภาพผูสูงอายุดานการบริบาล การรักษาพยาบาลท ี ่
                                                                                                        ื
               บาน/ชุมชน และการดูแลสุขภาพตนเองในระบบสุขภาพปฐมภูมิเชิงนวัตกรรม การดูแลผูสูงอายุ ถอเปน
               ประเด็นสำคัญทั้งในระดับนานาชาติและระดับประเทศ โดยผูสูงอายุไดรับการสงเสริมสุขภาพและความเปนอยูที่ดี

               ฉะนั้นภาครัฐควรมีการยกระดับการดูแลผูสูงอายุดานสุขภาพ เปนกิจกรรมหลักสำคัญที่ตองเรงปฏิรูป เพื่อรองรับ

               5  สำนักงานสภาพฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง), ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา
                            ั
                                             
                                                      
               เลม 138 ตอนพิเศษ 44 ง (25 กมภาพันธ 2564): หนา 139-176.
                                       ุ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25