Page 18 - รายงานประจำปี
P. 18

10

                                                                                                
                                                                                                            ื
                                                                                                            ่
               บานเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเชี่ยวชาญ ใหสามารถตอยอดไปสูองคความรูที่เปนเลิศ เพอ
               สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมใหประเทศไทยเปนผูนำดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมใน
               ระดับนานาชาติได
                          •  แผนแมบทยอย ปจจัยสนับสนุนในการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
                              กำหนดเปาหมาย 230502 สัดสวนการลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนตอภาครัฐ

               เพิมขึ้น หนวยงานภาครัฐควรกำหนดรูปแบบการเขาถึงการใชประโยชนจากการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานท ี ่
                  ่
               เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนาของประเทศ เพื่อกระตุนการลงทุนดานนวัตกรรมในธุรกิจภาคเอกชน โดยเฉพาะ
               การขยายการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรมแหงอนาคต ครอบคลุมทงภาคการผลิต ภาคการบริการ
                                                                                    ั้
                           
                                                                       ั
               และภาคการคาสง/คาปลีกมากขน โดยมุงเนนประเด็นการวิจัยที่สำคญ เชน ชีววัตถุและวัคซีน สมุนไพร วิทยาการ
                                          ึ้
               หุนยนตและระบบอตโนมัติ การขนสงระบบราง ความปลอดภัยไซเบอร เปนตน เพื่อใหอุตสาหกรรมในระบบไดรับ
                                ั
               การยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน อีกทั้งยังสามารถเพิ่มระดับสัดสวนการลงทุนวิจัยและพัฒนาของ
               ภาคเอกชนตอภาครัฐไดอยางตอเนื่อง
                                                                            4
                       2.1.3 (ราง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 13
                       สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติซึ่งมีภารกิจในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกจ
                                                                                                            ิ
                                                                                                            ้
               และสังคมของประเทศ ไดจัดทำ (ราง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) ขึน
                                                   ุ
               เพื่อพลิกโฉมประเทศไทยสู เศรษฐกิจสรางคณคา สังคมเดินหนาอยางยั่งยืน (Transformation to Hi-Value and
                                                                                                            ่
                                                                                                            ื
               Sustainable Thailand) โดยการยกรางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 13 นี้ จะใชเปนกรอบเพอ
                                                                                                            ิ
               กำหนดแผนระดับปฏิบัติการในชวง 5 ปที่สองของยุทธศาสตรชาติ 20 ป ซึ่งยังคงนอมนำปรัชญาของเศรษฐกจ
               พอเพียงมาเปนหลักปรัชญานำทางในการขับเคลื่อนและวางแผนการพัฒนาประเทศ ใหเกิดประสิทธิผลในการ
               ขับเคลื่อนพลวัตการพัฒนาประเทศในมิติตาง ๆ ไปสูเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติกำหนด และการพัฒนาประเทศ
               ที่ควรมุงไปในอนาคตใหมีความสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals:

               SDGs) ทามกลางความทาทายของการผันแปรปญหาดานสุขภาวะของผูคนทั่วโลกและสภาวะโครงสราง
               ภายในประเทศ
                       กรอบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ยังมุงเนนประเด็นการพัฒนาที่มีลำดับความสำคัญสูงในการพลิกโฉม

                           
               ประเทศไทยสู Hi-Value and Sustainable Thailand ในองคประกอบสำคัญ 4 ประการ ไดแก 1) เศรษฐกจ
                                                                                                            ิ
               มูลคาสูงที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (High Value-Added Economy) 2) สังคมแหงโอกาสและความเสมอภาค
               (High Opportunity Society) 3) วิถีชีวิตที่ยั่งยืน (Eco-Friendly Living) และ 4) ปจจัยสนับสนุนการพลิกโฉม
               ประเทศ (Key Enablers for Thailand’s Transformation) โดยภายใตองคประกอบในแตละดาน ไดมีการ

               กำหนด “หมุดหมาย” (Milestones) ในชวงระยะเวลา 5 ป ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 โดยรายละเอียดของ
               องคประกอบและหมุดหมายที่เกี่ยวของ มีดังนี้
                                             





               4  สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจและสังคมแหงชาติ. (ราง) แผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 พลิกโฉม
                                                                 ั
                                        ิ
                         
               ประเทศไทยสู เศรษฐกิจสรางคุณคา สังคมเดินหนาอยางยั่งยืน [อินเทอรเน็ต] สืบคนเมื่อ [1 ตุลาคม 2564]. เขาถึงไดจาก:
               https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=plan13
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23