Page 6 - มาตรฐานความปลอดภัย ธ.ก.ส.
P. 6
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร
ํ
ั
(2) คณะกรรมการความปลอดภย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทางาน ประจําแตละอาคาร
ํ
ประกอบไปดวยผูอํานวยการฝายอํานวยการ ผูอานวยการฝายตรวจสอบ ผูอานวยการฝายพัฒนาลูกคาและชุมชน
ํ
ํ
เปนประธานกรรมการ มีผูชวยผูอานวยการฝายที่เกี่ยวของ เปนกรรมการ และมีผูบริหารทีม ฝายอํานวยการ
เปนกรรมการและเลขานุการ มีอานาจหนาที่ ประชุมอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง พิจารณานโยบายและแผนงาน
ํ
ิ
ุ
ั
ดานความปลอดภยในการทํางาน รวมทั้งความปลอดภัยนอกงาน เพื่อปองกนและลดการเกดอบัติเหตุ
ั
ั
ั
การประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญอนเนื่องจากการทํางาน หรือความไมปลอดภย
ู
ในการทํางานเสนอตอธนาคาร รายงานและเสนอแนะมาตรการ หรือแนวทางการปรับปรุงแกไขใหถกตอง
ํ
ั
ํ
ตามกฎหมายวาดวยความปลอดภัยในการทางาน และมาตรฐานความปลอดภยในการทางานตอธนาคาร เพื่อความ
ปลอดภัยในการทํางานของพนักงาน ผูรับเหมา และบุคคลภายนอกที่เขามาปฏิบัติงานหรือเขามาใชบริการ
ในธนาคาร สงเสริม สนับสนุน กจกรรมดานความปลอดภย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน
ิ
ั
ั
ของธนาคาร พิจารณาขอบังคบและคมือ รวมทงมาตรฐานความปลอดภัยในการทํางานเสนอตอธนาคาร สํารวจ
ู
้
ั
ึ้
การปฏิบัติการดานความปลอดภัยในการทํางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอันตรายที่เกิดขน พิจารณาโครงการ
หรือแผนการฝกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานรวมถึงโครงการหรือแผนการอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาท ี่
ั
ความรับผิดชอบ ในดานความปลอดภยของฝายบริหาร (ระดับผูบังคับบัญชา) และพนักงานทกระดับเพื่อเสนอ
ุ
ตอธนาคาร
(3) พนักงานเครือขายดานความปลอดภัย (Mr. Safety) ประจําสวนงานสํานักงานใหญ ไดแกตัวแทน
พนักงานจากทุกสวนงานในสํานักงานใหญ มีอํานาจหนาที่ ดูแลสภาพแวดลอมการทํางานทั่วไปดวยความเรียบรอย
ประสานงานหรือแจงเหตุฉุกเฉินกบสวนงานที่เกยวของทั้งภายในและภายนอก เพื่อใหสามารถดําเนินการไดทัน
ี่
ั
ั
ึ
ิ
ตอสถานการณ โดยคํานึงถงความปลอดภยในชีวิตของพนักงานและทรัพยสินธนาคารเปนสําคัญ เขารวมกจกรรม
ซักซอมแผนฉกเฉินกับธนาคาร เปนผูนําในการปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภยของธนาคารในกรณี
ั
ุ
ี่
ู
เกิดเหตุฉุกเฉิน ตาง ๆ รายงานขอมลหรือใหขอเสนอแนะเกยวกับการพัฒนาปรับปรุงงานความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานของธนาคาร
(4) คณะทํางานเครือขายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานประจํา สํานักงาน
ธ.ก.ส. จังหวัด/สํานักกิจการนครหลวง ประกอบดวย ผอานวยการสํานักงาน ธ.ก.ส. จังหวัด/ผูอํานวยการสํานัก
ํ
ู
ํ
กจการนครหลวง เปนประธาน มีผูจัดการสาขา และตัวแทนสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ธ.ก.ส. ประจาสวนงาน
ิ
เปนกรรมการและมีพนักงานที่ไดรับมอบหมาย เปนกรรมการและเลขานุการ มีอํานาจหนาที่ ประชุมอยางนอย
ิ
ี
ํ
ั
เดือนละ 1 ครั้ง กากับ ดูแล ใหพนักงานในสวนงานที่รับผิดชอบ ปฏบติตามนโยบายความปลอดภยอาชวอนามัย
ั
ั
ิ
ู
และสภาพแวดลอมในการทางานของธนาคาร และคมือปฏบติงานธนาคาร รายงานและเสนอแนะมาตรการ หรือ
ํ
แนวทางการปรับปรุงแกไขใหถูกตองตามกฎหมายวาดวยความปลอดภัยในการทํางาน และมาตรฐานความปลอดภย
ั
ั
ในการทางานตอธนาคาร เพื่อความปลอดภยในการทํางานของพนกงาน ผูรับเหมา และบุคคลภายนอกที่เขามา
ั
ํ
ปฏบติงานหรือเขามาใชบริการในธนาคาร สงเสริม สนับสนุน กิจกรรมดานความปลอดภย อาชีวอนามย
ั
ั
ิ
ั
ิ
ํ
และสภาพแวดลอมในการทางานของธนาคาร สํารวจการปฏบัตงานดานความปลอดภยในการทํางาน ตรวจสอบ
ิ
ั
ั
ี่
ั
สถิติการประสบอนตรายทเกิดขน และรายงานเหตุการณความ ไมปลอดภยในการทํางานเปนประจําทุกเดือน
ึ้
ิ
รายงานผลการปฏิบัติงานประจําป รวมทั้งระบุปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะในการปฏบัติหนาที่
ั
ํ
ั
ั
ของคณะทางานเครือขายความปลอดภย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานประจําจังหวด เมื่อปฏิบติ
ี่
ื่
ั
หนาทครบหนึ่งป ปฏบัติงานที่เกยวกับความปลอดภย อาชีวอนามยและสภาพแวดลอมในการทํางานอน
ี่
ิ
ั
ตามที่ธนาคารมอบหมาย
ม า ต ร ฐ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ใ น ก า ร ทํา ง า น หนา 6