Page 59 - คู่มือครูฝ่ายวิชาการ 2564 Update 15072021
P. 59

(25) กำรเรียนกำรสอนของรูปแบบ เอส.ที.เอ.ดี. ( STAD )


                  STAD   คือ “Student Teams Achievement Division” กระบวนการด าเนินการ  มีดังนี้

                       1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ ( เก่ง - กลาง - อ่อน ) กลุ่มละ 4 คนและเรียกกลุ่มนี้ว่ากลุ่ม

               บ้านของเรา (Home Group)
                       2. สมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา ได้รับเนื้อหาสาระและศึกษาเนื้อหาสาระนั้นร่วมกัน เนื้อหาสาระนั้นอา

               จะมีหลายตอนซึ่งผู้เรียนอาจต้องท าแบบทดสอบในแต่ละตอนและเก็บคะแนนของตนไว้
                       3. ผู้เรียนทุกคนท าแบบทดสอบครั้งสุดท้าย ซึ่งเป็นการทดสอบรวบยอดและน าคะแนนของตนไปหา

               คะแนนพัฒนาการ (Improvement Score) ซึ่งหาได้ดังนี้


                              คะแนนพื้นฐาน   : ได้จากค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบย่อยหลาย ๆ ครั้งที่ผู้เรียน แต่ละคนท า

                       ได้

                              คะแนนพัฒนาการ        : ถ้าคะแนนที่ได้คือ
                                     - 11 ขึ้นไป    คะแนนพัฒนาการ = 0

                                     - 1 ถึง -10    คะแนนพัฒนาการ = 10
                                     +1 ถึง +10    คะแนนพัฒนาการ = 20

                                     +11 ขึ้นไป    คะแนนพัฒนาการ = 30

                       4. สมาชิกในกลุ่มบ้านของเราน าคะแนนพัฒนาการของแต่ละคนในกลุ่มมารวมกัน เป็นคะแนนของ
               กลุ่ม  กลุ่มใดได้คะแนนพัฒนาการของกลุ่มสูงสุด กลุ่มนั้นได้รางวัล


                                  (26) กระบวนกำรเรียนกำรสอนของรูปแบบจิ๊กซอร์ ( Jigsaw )




                       1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ ( เก่ง-กลาง-ออน ) กลุ่มละ 4 คนและเรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่มบ้าน
                                                                  ่
               ของเรา (home group)
                       2. สมาชิกในกลุ่มบ้านของเราได้รับมอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาสาระคนละ 1 ส่วน (เปรียบเสมือนได้

               ชิ้นส่วนของภาพตัดต่อคนละ 1 ชิ้น) และหาค าตอบในประเด็นปัญหาที่ผู้สอนมอบหมายให้

                       3. สมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา แยกย้ายไปรวมกับสมาชิกกลุ่มอนซึ่งได้รับเนื้อหาเดียวกัน ตั้งเป็นกลุ่ม
                                                                          ื่
                                                                                            ี
               ผู้เชี่ยวชาญ (expert group) ขึ้นมา และร่วมกันท าความเข้าใจในเนื้อหาสาระนั้นอย่างละเอยด และร่วมกัน
               อภิปรายหาค าตอบประเด็นที่ผู้สอนมอบหมายให้
                                                                                     ื่
                       4. สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ กลับไปสู่กลุ่มบ้านของเรา แต่ละกลุ่มช่วยสอนเพอนในกลุ่ม ให้เข้าใจสาระ
               ที่ตนได้ศึกษาร่วมกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเช่นนี้ สมาชิกทุกคนก็จะได้เรียนรู้ภาพรวมของสาระทั้งหมด
   54   55   56   57   58   59   60   61   62