Page 55 - คู่มือครูฝ่ายวิชาการ 2564 Update 15072021
P. 55

(18) วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มท ำงำน (Committee Work Method)


                       วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มท างานเป็นวิธีสอนที่ครูมอบหมายให้นักเรียนท างานร่วมกันเป็น กลุ่มร่วมมือกัน

               ศึกษาค้นคว้าหาวิธีการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติกิจกรรมตามความ สามารถ ความถนัด หรือความสนใจ เป็นการ

               ฝึกให้นักเรียนท างานร่วมกันตามวิถีแห่งประชาธิปไตย


               ขั้นตอนในกำรสอนแบบแบ่งกลุ่มท ำงำน
                       1. ครูและนักเรียนร่วมกันก าหนดความมุ่งหมายของการท างานในแต่ละกลุ่ม ขั้นตอนนี้เป็นขั้นที่

               ก าหนดความมุ่งหมายและวิธีการท างานอย่างละเอียด

                       2. ครูเสนอแนะแหล่งวิทยาการที่จะใช้ค้นคว้าหาความรู้ ได้แก่ บอกรายละเอยดของหนังสือที่ใช้ใน
                                                                                       ี
               การศึกษาค้นคว้า

                       3. นักเรียนร่วมกันวางแผนและปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
                       4. ครูและนักเรียนประเมินผลการท างาน ในกรณีที่เป็นครูให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนใน การ

               ปฏิบัติงาน ในกรณีนักเรียนร่วมกันประเมินผลการปฏิบัติงานในกลุ่มตนเองโดยบอกขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน ผล

               ที่ได้รับ และการพัฒนางานในโอกาสต่อไป



                                    (19) วิธีสอนแบบหน่วย (Unit Teaching Method)



                       วิธีสอนแบบหน่วยเป็นวิธีการสอนที่น าเนื้อหาวิชาหลายวิชามาสัมพนธ์กัน โดยไม่ก าหนดขอบเขตของ
                                                                              ั

               วิชา แต่ยึดความมุ่งหมายของบทเรียนที่เรียกว่า “หน่วย” นักเรียนอาจเรียนหลายๆวิชาพร้อมๆกันไปตามความ
               ต้องการและความสามารถของนัก เรียน

               ขั้นตอนของวิธีกำรสอนแบบหน่วย
                       1. ขั้นน าเข้าสู่หน่วย ขั้นตอนนี้ครูเป็นผู้เร้าความสนใจของนักเรียนด้วยการน าหนังสือที่น่าสนใจ

                           ู
               หรือสนทนาพดคุยหรือเล่าเรื่องหรืออภิปรายหรือพาไปทัศนศึกษา หรือชมนิทรรศการ หรือชมภาพยนตร์ หรือ
               ชมวีดีทัศน์ ฯลฯ
                       2. ขั้น นักเรียนและครูวางแผนร่วมกันในการปฏิบัติกิจกรรม เริ่มด้วยการก าหนดความมุ่งหมายทั่วไป

               ความมุ่งหมายเฉพาะ ช่วยกันตั้งปัญหาและแบ่งหัวข้อปัญหา ก าหนดกิจกรรมของแต่ละปัญหาก าหนดสื่อการ
               สอนที่จะน าไปใช้แก้ปัญหา แล้วจัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อยเพื่อท ากิจกรรม และรายงานผลการปฏิบัติงาน

                                                                                             ิ
                                                                                              ิ
                       3. ขั้นลงมือท างาน เริ่มต้นด้วยการส ารวจและรวบรวมความรู้ต่างๆจากห้องสมุดพพธภัณฑ์ ได้แก่
                                                                                        ั
               หนังสือพมพรายวัน นิตยสาร เอกสาร แบบเรียน ต ารา ร้านค้า ภาพยนตร์ ความสัมพนธ์กับวิชาต่างๆ เช่น
                       ิ
                          ์
               ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลปะ ฯลฯ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60