Page 2 - การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล การป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใส่เครื่องช่วยหายใจ WHAPO CNPG โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
P. 2
ค าน า
ั
การใส่ท่อช่วยหายใจและการใช้เครื่องช่วยหายใจ เป็นสิ่งที่จ าเป็นส าหรับผู้ป่วยหนก
่
แต่การใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นเวลานาน ท าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตอผู้ป่วยโดยเฉพาะ การตด
ิ
เชื้อปอดอักเสบที่สัมพนธกับการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator-associated pneumonia:
ั
์
ิ
้
ู่
้
VAP) เป็นปัญหาส าคัญและพบไดบ่อยของการตดเชื้อในโรงพยาบาล ท าให้ผู้ป่วยตองอยใน
ิ่
ึ้
ึ้
ึ้
ึ้
ุ่
ิ
โรงพยาบาลนานขน การรักษายงยากมากขน เสียค่าใช้จ่ายสูงขนและมีโอกาสเสียชีวตเพมขน
้
ิ
ู
สถานพยาบาลควรมีมาตรการการป้องกันการตดเชื้อที่ถกตองตามมาตรฐาน ตามหลักฐานเชิง
ประจักษ์ที่ทันสมัยในการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ส าหรับการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ท่อและเครื่องช่วยหายใจ ที่ผ่านมา ใช้ WHAP bundle แต ่
ั
ิ
พบว่า กิจกรรมในแนวปฏิบัตการพยาบาลยงคงไม่ครอบคลุมปัจจัยในการป้องกันการส าลักเชื้อ
ก่อโรคทางเดนหายใจส่วนล่างและการดแลช่องปากในผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจอยางมี
ู
่
ิ
ื่
ิ
ี้
ิ
ั
ประสิทธภาพ นอกจากนโรงพยาบาลยงไม่มีแนวปฏิบัตการพยาบาลเพอป้องกันปอดอักเสบที่
สัมพันธ์กับเครื่องช่วยหายใจเพื่อลดการติดเชื้อ VAP (WHAPO CNPG)
ิ
กลุ่มงานการพยาบาลป้องกันและควบคุมการตดเชื้อในโรงพยาบาลมหาราช
นครราชสีมา ไดทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ และนามาพฒนาและสร้างเป็นแนวปฏิบัตการ
ั
ิ
้
พยาบาล การป้องกันการตดเชื้อปอดอักเสบที่สัมพนธกับการใส่เครื่องช่วยหายใจ WHAPO
ิ
์
ั
ี้
CNPG ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าWHAPO CNPG โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ฉบับน ท า
้
ให้ผู้ป่วยไดรับการพยาบาลที่มีคุณภาพและปลอดภัยครอบคลุมปัจจัยเสี่ยงในการป้องกันการ
ิ
ิ
ส าลักและการดูแลความสะอาดช่องปาก นาไปสู่การป้องกันการตดเชื้อ ส่งผลให้อุบัตการณ์การ
ติดเชื้อ VAP ลดลงและพัฒนามาตรฐานการให้บริการแก่ผู้ป่วยในโรงพยาบาลต่อไปในอนาคต
นางสาว สุภาพร ศรีพนม
พยาบาลวิชาชีพช านาญการ
กลุ่มงานการพยาบาลป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ